เรื่อง: การพัฒนากำลังพลของหน่วยบัญชาการทหารพัฒนาตามแนวคิดทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี, (วปอ.8996)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พ.อ.ธีระยุทธ จินหิรัญ, (วปอ.8996)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การพัฒนาก าลังพลของหน่วยบัญชาการทหารพัฒนาตามแนวคิดทักษะ
ในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติ
๒๐ ปี
ลักษณะวิชา การทหาร
ผู้วิจัย พลตรีธีระยุทธ จินหิรัญ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๒
เอกสารวิจัยฯ ฉบับนี้ จัดท าขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์การปฏิบัติงานของ
ก าลังพลหน่วยบัญชาการทหารพัฒนาตามแนวคิดทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ตลอดจนปัญหา ข้อขัดข้อง
และอุปสรรคที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน เพื่อศึกษาวิเคราะห์เชื่อมโยงนโยบายการด าเนินงานของหน่วย
บัญชาการทหารพัฒนา และยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปีตลอดจนเพื่อหาแนวทางการพัฒนาก าลังพลของ
หน่วยบัญชาการทหารพัฒนาตามแนวคิดทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศ
ตามยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปีเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมุ่งเน้นการวิจัยจากเอกสารทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ แนวคิดที่เกี่ยวข้อง และสื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ รวมทั้งสื่ออิเล็กทรอนิกส์ผู้วิจัยใช้การ
รวบรวมข้อมูลข้อมูลทุติยภูมิจากแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และข้อมูลปฐมภูมิจากการสัมภาษณ์เชิงลึก
และการประชุมกลุ่มย่อยจากผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้อง เพื่อน าข้อมูลที่ได้มาท าการศึกษา วิเคราะห์
เปรียบเทียบหาข้อดี ข้อเสีย และน าเสนอแนวทางการพัฒนาก าลังพลของหน่วยบัญชาการทหารพัฒนา
ตามแนวคิดทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติ๒๐ ปีทั้งนี้
ผลการวิจัยสรุปได้ว่า การพัฒนาก าลังพลของหน่วยบัญชาการทหารพัฒนาตามแนวคิดทักษะใน
ศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ควรเป็นไปตามแนวทาง
การพัฒนาก าลังพลให้มีความรู้ ความสามารถ เพื่อเป็นการพัฒนาทักษะของบุคลากรให้พร้อมและ
ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก หรือเป็นไปตามทักษะที่ต้องการในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อสนับสนุน
การปฏิบัติงานตามการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนในระยะยาว ผู้วิจัยขอเสนอแนวทางการพัฒนา
ก าลังพลของหน่วยบัญชาการทหารพัฒนาตามแนวคิดทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อสนับสนุน
การพัฒนาประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี สรุปได้ ๓ แนวทาง คือ ๑. แนวทางการพัฒนาก าลังพล
ด้านทักษะชีวิตและการท างาน ด้วยการปลูกฝังจิตส านึกให้ก าลังพลรู้จักปรับตัวเพื่อรับกับการ
เปลี่ยนแปลงด้วยการปรับตัวตามบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ และบริบทตามช่วงเวลาที่ก าหนด
และเพื่อให้บรรยากาศของการปฏิบัติงานในองค์กรดีขึ้น ๒. การพัฒนาก าลังพลด้านสารสนเทศและ
เทคโนโลยีด้วยการจัดอบรมทักษะจ าเป็นและเกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ ๆ ในทุกสายงานที่เกี่ยวข้อง
ให้กับก าลังพลทุกระดับตามความเหมาะสม และ ๓. การพัฒนาก าลังพล ด้านทักษะการเรียนรู้และ
นวัตกรรม โดยการส่งเสริมให้ก าลังพลมีความคิดสร้างสรรค์และการสร้างนวัตกรรม เพื่อให้ก าลังพล
มีระบบความคิดอย่างสร้างสรรค์สามารถท างานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ด้วยการจัดให้มีการพัฒนา
องค์ความรู้และตระหนักรู้ด้านไซเบอร์ให้กับก าลังพล ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะดังนี้ ๑. ควรมีนโยบาย
ในการปรับปรุงและพัฒนาระบบเทคโนโลยีใหม่ที่จะน าเข้ามาเพื่อใช้ในการพัฒนาระบบงาน เครื่องมือ ข
และอุปกรณ์ เพื่อให้ก าลังพลมีความรู้ ความเข้าใจ ในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ทันกับสถานการณ์ใหม่ ๆ ที่ก าลังเกิดขึ้นในอนาคต ๒. ควรมีการน าเสนอแนวทาง
การพัฒนา การสร้าง และการต่อยอดนวัตกรรมเพื่อสนับสนุนให้เป็นองค์กรที่มีความเข้มแข็ง มีความ
เติบโต มีสมรรถนะ มีศักยภาพในการพึ่งพาตนเองสูง มีการพึ่งพาจากภายนอกเท่าที่จ าเป็น ๓. ควรมี
กรอบหรือหลักการส าคัญที่ยึดเอาแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเข้ามาปรับใช้กับการพัฒนา
ก าลังพลอย่างต่อเนื่องเพื่อสร้างความยั่งยืน
abstract:
ABSTRACT
Title The military personnel developing of Armed Forces Development
Command following the 21st century skills concept to support
nationaldevelopment in accordance with the 20-year national
strategy.
Field Military
Name Major General Theerayut Jinhiran Course NDC Class 62
This research paper aims to studying, analyzing the operations of
personnel, Armed Forces Development Command following the 21st century skills
concept. As well as problems, objections and barriers occur in the present.
To studying, analyzing, link the operational policy of the Armed Forces Development
Command and the 20-year national strategy. Covering to find ways to develop the
personnel of the Armed Forces Development Command based on the 21st century
skills concept to support national development according to the 20-year national
strategy. Focusing on research from academic documents, academic articles related
concepts and various publications including electronic media. The researcher used
the collection of secondary data from relevant data sources and primary data from
in-depth interviews and small group meetings from relevant experts. In order to use
the information obtained for studying, analyzing, comparison of advantages and
disadvantages and presenting the approaches for personnel development of the
Armed Forces Development Command following the 21st century skills concept to
support national development according to the 20-year national strategy. For the
purpose that, research found that the personnel development of the Armed Forces
Development Command following the 21stcentury skills concept to support national
development in accordance with the 20-year national strategy. Should be in
accordance with the guidelines to personnel development for knowledge and
competency in order to develop the skills of personnel and to keep up with changes
in the global society or to meet the skills required in the 21st century to support the
operation according to national development in the long term sustainable.
The researcher proposed the personnel development of the Armed Forces
Development Command following the 21st century development of skills to support
the development of the country accordance with the 20-year national strategy,
summarized in 3 ways as follows: 1. Guideline to the personnel development of life
skills and work by indoctrination awareness of the forces to adapt to meet the ง
changes by adjusting according to their roles and responsibilities and context for
a specified period of time and to improve the working mood in the organization.
2. The personnel development in information and technology by providing necessary
skills training and new technology In all relevant departments for all levels of
personnel as appropriate, and 3. The personnel development in learning and
innovation skills by encouraging the personnel to have creativity and innovation.
In order for the personnel to have a creative thinking system that can work creatively
with others by arranging the development of knowledge and cyber awareness for the
personnel. In addition, the researcher has suggestions as follows: 1. There should be
a policy to improve and develop new technology systems that will be brought into
use in the development of work systems, tools and equipment to provide personnel
with knowledge and understanding of the use of tools and other devices effectively
catch up with new situations it will being in the future. 2. There should be a guideline
for development, creation and extension of innovation in order to support it as
a strong, growing, competency and organization with high self-reliance potential, it
should be external dependence as necessary. 3. There should be an important
framework or principle that adheres to the philosophy of sufficiency economy
guidelines and the continuous development of manpower to create sustainability.
Effectively catch up with new situations it will being in the future.