เรื่อง: การใช้กำลังทางอากาศในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย, (วปอ.8990)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พล.อ.ต. ธรรมรงค์เดช เจริญสุข, (วปอ.8990)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การใช้ก าลังทางอากาศในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ลักษณะวิชา การทหาร
ผู้วิจัย พลอากาศตรี ธรรมรงค์เดช เจริญสุข หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๒
การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ส าคัญเพื่อศึกษาการใช้ก าลังทางอากาศในการป้องกัน
และบรรเทาสาธารณภัย ซึ่งรัฐบาลจ าเป็นต้องเตรียมความพร้อมในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
ด้านสาธารณภัย โดยให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดท าแผนปฏิบัติการรองรับให้สอดคล้องกับภารกิจและ
เหมาะสมกับสภาพทางภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรของแต่ละหน่วยงาน
รวมทั้งมีการติดตามและประเมินผลการด าเนินงานอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง กระทรวงกลาโหมเป็น
องค์กรของรัฐ มีหน้าที่ อ านวยการ ประสานงาน สั่งการและก ากับดูแลการปฏิบัติของส่วนราชการ
ในกระทรวงกลาโหมในการช่วยเหลือผู้ประสบภัย รวมทั้งการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า การฟื้นฟูบูรณะ
ความเสียหายทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคให้เป็นไปอย่างรวดเร็ว กองทัพอากาศ เป็นหน่วยงานที่มี
ความพร้อมทั้งด้านก าลังพล ยุทโธปกรณ์และเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ เพื่อรองรับภารกิจการช่วยเหลือ
ผู้ประสบภัยตามนโยบายของกระทรวงกลาโหม โดยให้การสนับสนุนส่วนราชการและส่วนพลเรือนใน
การแก้ปัญหาสาธารณภัย ซึ่งกองทัพอากาศมีหน้าที่ เตรียมก าลังกองทัพอากาศ ป้องกันราชอาณาจักร
และด าเนินการเกี่ยวกับการใช้ก าลังทางอากาศ ดังนั้น การเตรียมก าลังพลและยุทโธปกรณ์ของ
กองทัพอากาศนั้นมีไว้ส าหรับภารกิจดังกล่าวเท่านั้น แม้ว่าจะมีข้อจ ากัดด้านทรัพยากร กองทัพอากาศ
ก็ยังให้การสนับสนุนการช่วยเหลือประชาชนอย่างต่อเนื่อง นอกจากนั้น การบูรณาการการปฏิบัติงาน
ด้านบรรเทาสาธารณภัยกับหน่วยงานอื่นตามแผนบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติยังประสบปัญหาในเรื่อง
ความรู้ความเข้าใจในการประสานการใช้ทรัพยากรร่วมกัน ท าให้ประสิทธิภาพการท างานร่วมกันลดลง
กองทัพอากาศ ยังมีขีดความสามารถในการใช้ก าลังทางอากาศในการประเมินสาธารณภัยที่จะเกิดขึ้น
ในลักษณะภัยต่าง ๆ ซึ่งจากการศึกษาแผนงานพบว่า ข้อจ ากัดในการปฏิบัติได้ก าหนดให้เหล่าทัพ
ด าเนินในส่วนงานบรรเทาสาธารณภัย และได้ก าหนดงานด้านการป้องกันสาธารณภัยไว้แล้ว
ส าหรับข้อเสนอแนะในเรื่อง การใช้ยุทโธปกรณ์และก าลังพลยังต้องถูกแบ่งออกมาจาก
งานด้านการป้องกันประเทศ ท าให้เกิดข้อจ ากัดในการปฏิบัติงาน ดังนั้น งานในส่วนการป้องกัน
สาธารณภัยควรจะถูกก าหนดให้กระทรวงกลาโหมด าเนินการในบางส่วนตามขีดความสามารถของ
กองทัพ เพื่อให้สามารถมีการวางแผน และปฏิบัติการได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
abstract:
Abstract
Title Application of Air Force in Disaster Prevention and Relief
Field Military
Name Air Vice Marshal Tumrongdate Jaroensook Course NDC Class 62
The objectives of this research paper is to study the application of the air force
in disaster prevention and relief. It is essential that the government be prepared for
disaster prevention and relief by authorizing responsible and related agencies to prepare
plans complying with their missions as well as to appropriately fit to geographical,
economic social conditions and available resources of each unit. The systematic and
continuous follow up and evaluation need to be accounted also. The Ministry of
Defence (MoD) is the governmental organization with the roles in directing, coordinating,
commanding and regulating the subordinate agencies in order to promptly aid disaster
victims, coping with immediate issues and restore the affected areas both in central
and regional areas. The Royal Thai Air Force is the organization with personnel, military
equipment and tools for disaster relief in accordance with MoD’s policies. It is done
so by assisting public and private units resolving the disaster problems. The core
mission of the Royal Thai Air Force is to prepare its capabilities for national defence
and to conduct missions related to air component forces. The preparation of personnel
and equipment is, therefore, mainly for the aforesaid mission only. Despite the limited
resources, the Royal Thai Air Force unremittingly dedicates its instruments in aiding the
Thai population in need. Furthermore, there are discrepancies in integration of
interoperations with other disaster relief agencies, in terms of national disaster relief
plan, in terms of understanding in coordination to allocate or share resources. This,
therefore, result in less efficient interoperability. The Royal Thai Air Force also possesses the
capabilities in situation assessments by air of the imminent disaster in various forms.
After reviewing the plan, it is found that there are some restrictions in disaster relief
operations by the military and the tasks in disaster prevention have been prescribed.
It is found that the military equipment and personnel that are mainly
prepared for national defence, yet need to be allocated for disaster prevention relief
and relief. It is, hence, suggested that disaster related tasks be assigned to Ministry of
Defence in proportions in accordance to each service’s capabilities. This will enable
the more effective planning and operations.