เรื่อง: การจัดการท่องเที่ยวอย่างมีส่วนร่วม, (วปอ.8989)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายธเนศ วรศรันย์, (วปอ.8989)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การจัดการท่องเที่ยวอยา่ งมีส่วนร่วม
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วจิัย นายธเนศ วรศรัณย์ หลกัสูตรวปอ. รุ่นที่62
การวจิยัคร้ังน้ีมีวตัถุประสงคเ์พื่อศึกษาผทู้ี่ควรมีส่วนร่วมกบัการจดัการท่องเที่ยวอยา่ ง
มีส่วนร่วมของประเทศไทยรวมท้งั เพื่อศึกษาแนวทางการจดัการท่องเที่ยวอยา่ งมีส่วนร่วมที่มีอยูใ่ น
ปัจจุบัน และน าเสนอแนวทางการพฒั นาให้เกิดการท่องเที่ยวอย่างมีส่วนร่วมที่เหมาะสมกับ
ประเทศไทย ซ่ึงสามารถสร้างการมีส่วนร่วม และยกระดบัความสามารถในการแข่งขนั ท้งัระบบได้
โดยการสัมภาษณ์บุคลากรที่เกี่ยวขอ้งกบัการจดัการท่องเที่ยว ท้งัภาครัฐและเอกชน เพื่อเก็บขอ้ มูล
ด้านประสบการณ์ และแนวคิดส่วนบุคคลของผูท้ี่ให้สัมภาษณ์และค้นคว้า รวบรวมข้อมูลจากเอกสาร
ต่าง ๆ ของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวขอ้งกบั ยุทธศาสตร์และนโยบาย ดา้นการท่องเที่ยว
ตลอดจนวรรณกรรมทางวิชาการ และงานวิจยัที่เกี่ยวข้อง โดยน าข้อมูลที่รวบรวมได้ท้งัหมด
มาวิเคราะห์ และสังเคราะห์ในเชิงพรรณนา โดยผลของการวิจัยสรุปไดด้งัน้ีกลุ่มผูม้ีส่วนร่วมดา้น
การท่องเที่ยวประกอบด้วย 3 ระดบั คือ 1. ผูม้ีส่วนร่วมที่อยู่ในห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
การท่องเที่ยวโดยตรงคือกลุ่มผูป้ระกอบการและบุคลากรที่ให้บริการกบั นกัท่องเที่ยวโดยตรง2.กลุ่มผูม้ี
ส่วนร่วมในฐานะผู้สนับสนุน Value Chain การท่องเที่ยว(Supporting)คือกลุ่มผูป้ระกอบการและ
บุคลากรด้านต่าง ๆ ที่มีส่วนร่วมในทางอ้อม ในฐานะเป็นผู้ด าเนินกิจกรรมที่สนับสนุน
ผู้ประกอบการใน Value Chain การท่องเที่ยว กลุ่มผูป้ ระกอบการและบุคลากรที่มิได้มีความ
เกี่ยวเนื่องกบัการท่องเที่ยวแต่ไดร้ับผลกระทบจากการท่องเที่ยวในทางบวกหรือลบ ซ่ึงผูม้ีส่วนร่วม
ดา้นการท่องเที่ยวแต่ละระดบัยงัมีความเขา้ใจถึงบทบาทการมีส่วนร่วมดา้นการท่องเที่ยว “ร่วมคิด
ร่วมทา ร่วมแบ่งปัน”ของตนในฐานะผูม้ีส่วนร่วมที่ยงัไม่เพียงพออนัอาจนา ไปสู่การดา เนินการที่
ส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยวไดโ้ดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์โครงสร้างการสร้างความร่วมมือที่มีอยใู่ นปัจจุบัน
ยงัไม่ตอบสนองการสร้างการมีส่วนร่วมอยา่ งจริงจงั เพราะมุ่งที่จะสร้างแนวทางการพฒั นาในระดบั
ที่ใหญ่กว่าชุมชนในพ้ืนที่ เช่นคณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติคณะกรรมการเขต
พฒั นาการท่องเที่ยวคณะกรรมการบริหารงานจงัหวดัแบบบูรณาการ(ก.บ.จ.)คณะกรรมการร่วมภาครัฐ
และเอกชนจังหวัด (ก.ร.อ.) เป็ นต้น ปัจจยัส าคญั ที่จะทา ให้เกิดการมีส่วนร่วมประกอบดว้ย 3 เรื่องคือ
1.มีการวางโครงสร้างเพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมด้านการท่องเที่ยวในทุกระดบั ท้งัในระดับ
นโยบายระดบั พ้ืนที่(คลสั เตอร์/จงัหวดั)ระดบั ทอ้งถิ่นหรือชุมชน เพื่อเป็นกลไกที่ประสานงานและข
ถ่ายทอดขอ้ มูลระหวา่ งทุกภาค 2. มีการให้ความรู้การพฒั นาเครือข่ายความร่วมมือ สร้างกลไกใน
การติดต่อเชื่อมโยงเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมให้เขม้แข็ง มีการพฒั นาการท่องเที่ยวอยา่ งเหมาะสม
และมีประสิทธิภาพ เพื่อให้สามารถเติบโตไดอ้ยา่ งยงั่ ยืน 3. สร้างจิตส านึกรับผิดชอบในการมีส่วน
ร่วมดา้นการท่องเที่ยว ช่วยกนั ดูแลสอดส่อง รักษาความสะอาดปลอดภยั ขนบธรรมเนียมประเพณี
และวฒั นธรรมไทย ดูแลนักท่องเที่ยวให้ได้รับบริการจากใจในฐานะเจ้าบ้านที่ดีคา นึงถึงการ
แบ่งปันผลประโยชน์อยา่ งเป็นธรรม (Fair) มี Community Shared Value ข้อเสนอแนะกระทรวง
การท่องเที่ยวและกีฬาควรเป็นหน่วยงานหลกัในการสร้างการจดัการอยา่ งมีส่วนร่วมในอุตสาหกรรม
ท่องเที่ยวโดยใชท้รัพยากรที่มีอยแู่ ละสามารถดา เนินการไดเ้องแบ่งออกเป็น 4 ด้าน คือ 1.โครงสร้าง จัด
ให้มีโครงสร้างที่ชดั เจนเพื่อให้เกิดความร่วมมือของผูท้ ี่เกี่ยวขอ้งใน 2 ระดบั คือ คณะกรรมการ
ท่องเที่ยวจงัหวดั (กททจ.) ส าหรับระดับจงัหวดั และ คณะกรรมการท่องเที่ยวพ้ืนที่ (กททพ.)
สา หรับระดบั พ้ืนที่2.การให้ความรู้และสร้างเครือข่าย จดัให้มีการอบรม ดูงาน และสร้างเครือข่าย
ระหวา่ งคณะกรรมการตามโครงสร้าง เพื่อสร้างให้เกิดความเขา้ใจในแนวทางการมีส่วนร่วม ท้งัใน
ด้านนโยบายภาครัฐ การร่วมกันวางแผนการพฒั นา การจัดสรรผลประโยชน์การพฒั นาการ
ท่องเที่ยวอยา่ งยงั่ ยืน 3. งบประมาณ จัดสรรงบประมาณส าหรับการประชุมของคณะกรรมการตาม
โครงสร้างโดยใชง้บประมาณที่ไดจ้ากนกัท่องเที่ยวผา่ นกองทุนส่งเสริมการท่องเที่ยว มีการผลักดัน
ให้การพิจารณางบประมาณด้านการท่องเที่ยวที่จะลงไปในทุกพ้ืนที่โดยมีเอกสารประกอบการพิจารณา
4.ควรมีการสร้าง Platform เชื่อมโยง เพื่อให้คณะกรรมการสามารถติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนความ
คิดเห็น และศึกษาแนวทางการดา เนินงานที่ประสบความสา เร็จของพ้ืนที่อื่น ๆ
abstract:
Abstract
Title The management of inclusive tourism
Field Economics
Name Mr.Thanate Vorasaran Course NDC Class 62
This research’s objectives are to study those persons who should take part in
managing the inclusive tourism of Thailand; study the present approaches of managing the
inclusive tourism as well as submit the development approaches of suitable inclusive tourism for
Thailand, which can arouse the participation and raise the level of competitive capability for the
whole system. The research method utilizes the interviews of relevant personnel involved in
managing the tourism, from both public and private sectors, in order to collect data of personal
experiences and ideas of those interviewees, and the search of information from both public and
private agencies’ texts involving the strategy and policies of tourism, as well as of academic
literatures and relevant researches. All the collected data and information will be descriptive
analyzed and synthesized. The research findings can be summarized as follows: The persons who
participate in tourism consists of 3 levels; they are 1.those who are in the value chain of tourism
directly, 2.those who are the supporter of chain, that is those entrepreneurs and various personnel
who indirectly participate as the supporting activists in tourism value chain. And those
entrepreneurs and personnel who are not involved with the tourism but get some positive or
negative effects. Those participants in tourism in each level still do not have enough
understanding of the role in inclusive tourism of joint thinking, joint doing and joint sharing, that
can lead to unexpected impacts to the tourism. The structure of building present participation is
not response to the purpose seriously, because it emphasizes developing approaches at the larger
level than community in the area such as the national committee of tourism policy, the provincial
administrative committee of integration, the joint public and private provincial committee. The
vital factor of building the participation consists of 3 issues; 1. laying the structure of supporting
inclusive tourism at all levels, including policy, area (cluster/province), local or community, in
order to be the coordinative mechanism and conveying information between areas; 2 distributing ง
knowledge, development of cooperative networks, setting up mechanism to enhance the strong
participation, developing the tourism suitably and effectively in order to reach sustainable growth;
3.creating awareness of responsible participation in tourism assisting in monitoring, keeping
clean, safety, Thai traditions and culture, caring tourists for the services as good hosts,
considering the sharing fair benefits, having community shared value. The recommendations from
research are as follows: the Tourism and Sports Ministry should be the main agency in building
and managing the inclusive tourism by utilizing existing resources and being self-operate through
4 issues: they are 1.the structure should be clear for creating the cooperation among the relevant
persons in 2 levels, the provincial tourism committee for the province level and the area tourism
committee for the area level; 2.the educating and building networks, providing training and study
activities, and setting up networks between committees in the structure in order to create the
understanding of participation in public policy, coordinate the development of planning, sharing
benefits and sustainable tourism; 3.the budgets should be allocated for the conferences of
committees in the structure by using budget from tourists through the tourism promoting fund,
pushing the tourism budget downing into every area by having the supplement documents for
consideration. 4. Platform should be created for connecting various committees being able to
communicate, exchange views and study the operation approaches that are successful in other
areas