เรื่อง: การกำหนดการวางกรอบเนื้อหาข่าวสารของกรมประชาสัมพันธ์ (Message Framing) เพื่อสร้างความเขื่อมั่นด้านเศรษฐกิจ ของประชาชนต่อรัฐบาล, (วปอ.8977)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางทัศนีย์ ผลชานิโก, (วปอ.8977)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การกา หนดการวางกรอบเน้ือหาขา่ วสารของกรมประชาสัมพนัธ
์(Message
Framing) เพื่อสร
้
างความเชื่อมนั่ ดา
้
นเศรษฐกิจของประชาชนต่อรัฐบาล
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย นางทัศนีย์ ผลชานิโก หลกัสูตรวปอ. รุ่นที่63
การกา หนดการวางกรอบเน้ือหาข่าวสารของกรมประชาสัมพนัธ์(Message Framing)
เพื่อสร้างความเชื่อมนั่ ดา้นเศรษฐกิจของประชาชนต่อรัฐบาลมีวตัถุประสงค์3 ประการ ประการแรก
เพื่อศึกษาสภาพความเชื่อมนั่ ของประชาชนที่มีต่อรัฐบาลในนโยบายดา้นเศรษฐกิจ สภาพปัญหา
ของรัฐบาลในการสื่อสารนโยบายด้านเศรษฐกิจ ประการที่สองสภาพปัญหาความเชื่อมนั่ ในการรับ
ข้อมูลข่าวสารของประชาชนของกรมประชาสัมพันธ์ในนโยบายด้านเศรษฐกิจ และประการสุดท้าย
คือศึกษาการก าหนดการวางกรอบเน้ือหาข่าวสาร (Message Framing) ของกรมประชาสัมพันธ์เพื่อ
สร้างความเชื่อมั่นด้านเศรษฐกิจของประชาชนต่อรัฐบาล ขอบเขตของการวิจัยเน้นการศึกษา
วิเคราะห์ปัจจยัที่ส่งผลต่อความเชื่อมนั่ ของประชาชนที่มีต่อรัฐบาลในนโยบายดา้นเศรษฐกิจและ
เป็ นการศึกษาวิเคราะห์การกา หนดกรอบเน้ือหา (Message Framing) เพื่อสร้างความเชื่อมั่นด้าน
เศรษฐกิจของประชาชนต่อรัฐบาลเท่าน้ัน ในส่วนของขอบเขตประชากรและวิธีการวิจยัน้ัน ผูว้ิจยั
รวบรวมขอ้ มูลท้งั ทุติยภูมิจากการศึกษาตา ราและเอกสารต่างๆ ในส่วนขอ้ มูลปฐมภูมิแบ่งการวิจัย
ตามกลุ่มเป้าหมาย 2 แบบคือ เชิงปริมาณ และ เชิงคุณภาพ โดยประชากรเชิงปริมาณคือชาวไทยที่รับ
ข้อมูลข่าวสารเศรษฐกิจจากกรมประชาสัมพันธ์ ที่มีอายุระหว่าง 20 - 60 ปี อาศัยอยู่ในประเทศไทย
ในพ้ืนที่เมืองและชนบท เพื่อศึกษาพฤติกรรม ทศั นคติความเชื่อ ประสบการณ์และความคิดเห็น
ของประชาชนเกี่ยวกับการรับข้อมูลข่าวสารนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาล ความเชื่อมนั่ ในขอ้ มูล
ข่าวสารทีได้รับ จากแบบสอบถามจ านวน 3,000 ตัวอย่าง และใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ สัมภาษณ์เชิงลึก
กลุ่มผู้บริหารสื่อของกรมประชาสัมพันธ์2 ระดับ คือผู้บริหารระดับสูง และระดับกลางเพื่อศึกษา
ความคิดเห็นเกี่ยวกบักรอบเน้ือหาของการสื่อสารนโยบายทางเศรษฐกิจเพื่อสร้างความเชื่อมนั่ ดา้น
เศรษฐกิจและการน ามาปรับใช้ในกรมประชาสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่าประชาชนส่วนใหญ่สนใจ
ข้อมูลข่าวสารในประเด็นเศรษฐกิจ เนื่องจากช่วงเวลาในการวิจัยอยู่ในช่วงของการระบาดของโรค
ติดเช้ือไวรัสโคโรนา (Covid-19) ประชาชนสนใจเรื่องเศรษฐกิจเกี่ยวกับเรื่องประเด็นการเยียวยา
ผลกระทบทางเศรษฐกิจการฟ้ืนฟูเศรษฐกิจราคาสินคา้มากเป็นพิเศษ นอกจากน้ีผู้วิจัยได้วางกรอบ
เน้ือหาท้งัในเชิงบวกและลบตามประเด็นข้างต้น พบว่าการวางกรอบเน้ือหาเพื่อทา ให้ประชาชนข
เชื่อมนั่ การดา เนินงานด้านเศรษฐกิจของรัฐบาลควรเน้นการสื่อสารแบบวางกรอบเน้ือหาเชิงบวก
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประเด็นที่ประชาชนให้ความสนใจในช่วงเวลาน้ันๆ เช่น ประเด็นเรื่องการ
เยียวยา อย่างไรก็ตาม ต้องไม่น าเสนอในเชิงบวกมากเกินไป เนื่องจาก ในบางกรณี การวางกรอบ
เน้ือหาในเชิงลบจะส่งผลต่อความเชื่อมนั่ ต่อรัฐบาลมากกว่า เช่น เรื่องการแกไ้ขปัญหาราคาสินคา้
นอกจากน้ีการสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มผู้บริหารสื่อกรมประชาสัมพันธ์พบว่า กลุ่มเป้าหมายการ
สื่อสารในเรื่องน้ีควรมี2 กลุ่มคือกลุ่มที่ความเชื่อมนั่ ปานกลางและต่า กรมประชาสัมพันธ์ยังไม่
เคยมีการวางกรอบเน้ือหาเพื่อสื่อสารสร้างความเชื่อมนั่ มาก่อน ผูบ้ริหารมองว่ามีความน่าสนใจและ
จะช่วยให้การทา งานสื่อสารของกรมประชาสัมพนัธ์มีความชดัเจนและน่าจะช่วยสร้างความเชื่อมนั่
ให้ประชาชนในการด าเนินงานของภาครัฐในประเด็นทางเศรษฐกิจได้เพื่อให้การน าไปใช้
ประโยชน์ในกรมประชาสัมพนั ธ์มีความชัดเจนข้ึน ผูว้ิจยัจึงได้จดั ทา แนวทางการวางเน้ือหาการ
สื่อสารเพื่อสร้างความเชื่อมนั่ ใน 2 กลุ่มที่ผู้บริหารกรมประชาสัมพนัธ์ต้งัขอ้ สังเกต และเห็นว่าควร
น าแนวทางดังกล่าวไปพิจารณาใช้งานในกรมประชาสัมพันธ์ต่อไป
abstract:
Abstract
Title Message Framing for trust: The Government Public Relations Department
on communicating government’s economic policy to gain citizen’s trust
Field Social -Psychology
Name Ms. Tassanee Pholchaniko Course NDC Class 62
Message Framing for trust: The Government Public Relations Department on
communicating government’s economic policy to gain citizen’s trust aimed to achieve these 3 objectives.
First, to study the situation of trust for Thai citizen toward the government’s economic policy and
challenges of government’s communication. Secondly, to study citizen’s trust in gaining information
about Thai government’s economic policy from The Government Public Relations Department (PRD).
Thirdly, to study how message framing can contribute to gain citizen trust in informing economic policy
for PRD. The scope of this research was only to identify factors that affected citizen trust in informing
government’s economic policy and analyzed how message framing can achieve citizen trust in the
government. This study used both types of researches quantitative and qualitative researches. For
quantitative, the study targeted 3,000 Thai citizens from different ages and location across Thailand to
gain information about their behavior, attitude and experiences on receiving information about
government’s economic policy and their trust. For qualitative research, the study focused on PRD media
executive and directors to interview about their opinion on message framing to create citizen trust in
Thai’s economic policy and its use in the organization. The result found that most people interested in
economic policy. During the Covid-19 period, people especially seek information about government’s
aid, economic downturn, government stimulus package, and product’s price. When framing the gain and
loss frame for these previous contents, it was found that gain frame is more likely to yield more trust for
the citizen. Noted that it shouldn’t be overly positive. However, a loss frame can result in trust for content
about price regulation. Since PRD didn’t have a message framing strategy, it was necessary to develop
message framing in the organization in order to build trust for the government in terms of economic
information, the executives also suggested that there should be 2 targetgroups: the medium and low trust
receivers since the context might be a bit different . There for, the model for message framing was
developed for 2 target groups to be implemented in the organization in the future.