เรื่อง: แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพชุดรักษาความปลอดภัย หมู่บ้าน (ชรบ.) เพื่อความมั่นคงอย่างยั่งยืน, (วปอ.8975)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, ร.ท. ทศพล ไชยโกมินทร์, (วปอ.8975)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน (ชรบ.)
เพื่อความมั่นคงอย่างยั่งยืน
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย ร้อยโท ทศพล ไชยโกมินทร์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 62
การศึกษาข้อมูลเรื่อง แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน
(ชรบ.) เพื่อความมั่นคงอย่างยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาบทบาท อ านาจ หน้าที่ของชุด
รักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน (ชรบ.) ในปัจจุบัน 2. เพื่อศึกษาสภาพปัญหา อุปสรรคในการปฏิบัติ
หน้าที่ของชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน (ชรบ.) ในปัจจุบัน 3. เพื่อเสนอแนวทางการเพิ่ม
ประสิทธิภาพชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน (ชรบ.) เพื่อความมั่นคงอย่างยั่งยืน มีขอบเขตของ
การศึกษาโดยศึกษาขอบเขตด้านระเบียบ/กฎหมาย แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนศึกษา
บทบาท อ านาจ หน้าที่ และสภาพปัญหา อุปสรรคของชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน (ชรบ.)
ในปัจจุบัน ซึ่งศึกษาเฉพาะพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรี โดยด าเนินการจัดกิจกรรมกลุ่มย่อย (Focus
Group) และสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depthInterview) ต่อกลุ่มผู้ให้ข้อมูลคนส าคัญ (Key Information)
ทั้งนี้การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ซึ่งมีการรวบรวมข้อมูลทั้งข้อมูล
ทุติยภูมิและข้อมูลปฐมภูมิ การวิเคราะห์ข้อมูลทีได้จากการรวบรวมข้อมูลและการน าเสนอข้อมูล ซึ่ง
สามารถสรุปผลการศึกษาได้ดังนี้ 1. บทบาทอ านาจหน้าที่ของ ชรบ. ถือเป็น “กองก าลังภาค
ประชาชนในระดับหมู่บ้าน” ที่เป็น “กลไกเชิงพื้นที่ที่มีความส าคัญและเป็นการสร้างการมีส่วนร่วม
อย่างแท้จริง” มีบทบาทส าคัญในการขับเคลื่อนนโยบายด้านความมั่นคงของภาครัฐ โดยสามารถ
วิเคราะห์ได้ว่ามี “บทบาทหน้าที่ขั้นพื้นฐานและบทบาทหน้าที่ในระยะยาว” ท าให้งานด้านความมั่นคง
ในระดับหมู่บ้านมีประสิทธิภาพมากขึ้น 2.ปัญหาที่เกิดขึ้นกับ ชรบ.ประการแรก คือ ไม่มีขวัญและ
ก าลังใจ ประกอบกับชุดเครื่องแบบของ ชรบ. ต้องจัดหาเองด้วยเงินของตนเองในการปฏิบัติหน้าที่ ซึ่ง
เมื่อเปรียบเทียบกับ อปพร.หรือ อส.ตชต. (ต ารวจ) จะมีชุดแจกจ่ายให้ฟรี ประการที่สอง การ
ปฏิบัติงานทั้งของ ชรบ. ยังไม่ได้รับสวัสดิการได้ดีเท่าที่ควร และประการสุดท้ายคือ ด้านความรู้ในทาง
กฎหมาย ตลอดจนระเบียบปฏิบัติต่าง ๆ ที่ ชรบ. ยังไม่มีองค์ความรู้เท่าที่ควร 3. แนวทางในการ
ด าเนินการเพิ่มประสิทธิภาพการท างานของ ชรบ. ควรมุ่งเน้นไปที่การสนับสนุนสวัสดิการในการ
ท างานของ ชรบ. มากขึ้น ทั้งการสนับสนุนในด้านงบประมาณ การอบรมให้ความรู้และความเข้าใจใน
ด้านระเบียบ กฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติหน้าที่ รวมไปถึงการสร้างขวัญและ
ก าลังใจแก่ผู้ปฏิบัติหน้าที่ เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเต็มก าลังความสามารถอีก
ด้วย
ค าส าคัญ : ชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน (ชรบ.)
abstract:
Abstract
Title Methods to increase the efficiency of Village Security Team for
Sustainable Security
Field Social Psychology
Name Lieutenant Tossaphol Chaikomintr Course NDC Class 62
The study in the topic of “methods to increase the efficiency of Village
Security Team for sustainable security” has 3 main purposes; (1) to study the current
roles, authority, and responsibilities of the Village Security Team, (2) to study current
problems and challenges in performing Village Security Team’s missions, and (3) to
offer methods to increase the efficiency of Village Security Team for sustainable
security. The scope of this research included the aspects of law and regulations,
related concepts and theories, as well as the roles, authority, responsibilities,
problems, and challenges of the Village Security Team. This study was a qualitative
research, conducted in Kanchanaburi Province by incorporating Focus Group studies
and In-depth Interviews of key informants. The results of the study could be
summarized into 3 main points. First of all, the Village Security Team is considered
the “Public Force in Village Level” which is deemed as an “Essential Mechanism in
the Area that Enhance True Public Engagement”. The Village Security Team also
plays important roles in implementing the government’s long-term strategies and
contains both “General and Long-Term Roles and Responsibilities”, which serve to
improve the efficiency of security missions in village level. Secondly, the study
suggested that the Village Security Team had encountered 3 problems, namely the
lack of moral supports, insufficient welfare benefits, and inadequate legal knowledge.
Lastly, in order to advance the efficiency of Village Security Team, there need to be
an increase in Village Security Team’s welfare, such as the increase of funding, law
and regulation trainings, and morale building. These will contribute enhance the
capabilities of the Village Security Team members.
Keyword: Village Security Team