Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อสนับสนุนการกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศไทย, (วปอ.8959)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายณรงค์ศักดิ์ บุณยมาลิก, (วปอ.8959)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2562
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การพฒั นารูปแบบการบริหารจดัการเขตเศรษฐกิจพิเศษเพื่อสนบั สนุนการ กระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศไทย ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผู้วิจัย นายณรงคศ ์ กัด์ิบุณยมาลิก หลกัสูตรวปอ. รุ่นที่62 เอกสารวิจัยฉบบั น้ีมีวัตถุประสงค์ของการวิจัยคือ 1. เพื่อวิเคราะห์ ประเมินสภาพการ ดา เนินงานจัดต้ังเขตเศรษฐกิจพิเศษ ในประเทศไทยในภาพรวม ที่ผ่านมา รวมท้ังศึกษาปัญหา อุปสรรคของการบริหารจดัการเขตเศรษฐกิจพิเศษท้งั 10แห่ง 2. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการ บริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษในประเทศอื่น ๆ ที่ประสบความส าเร็จ และถอดบทเรียนแบบ Lesson Learned ที่จะสามารถประยุกต์มาเป็ นข้อเสนอแนะส าหรับประเทศไทย 3. เพื่อให้ ข้อเสนอแนะเชิงการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการของการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษที่เหมาะสม กับการกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศไทย 1 แห่ง (แม่สอด)และมีขอบเขตของการวิจัย คือผู้วิจัย ท าการศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาของการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ และให้ข้อเสนอแนะในการ พฒั นาและบริหารจดัการเขตเศรษฐกิจพิเศษ ท้ัง 10 เขตของประเทศไทยในภาพรวม ๆ ผู้วิจัยมี วิธีด าเนินการวิจัย โดยวิธีการเชิงคุณภาพ สังเคราะห์ข้อมูลที่หลากหลายที่เป็ นความคิดเห็น เอกสาร ภาพประกอบ และข้อมูลข้อเท็จจริงในการลงพ้ืนที่ต่าง ๆ ผลการวิจัยผู้วิจัยสรุปในภาพรวมได้ ท้งัหมด 6 ด้าน และข้อเสนอแนะดงัต่อไปน้ี 1. ข้อเสนอแนะในการบริการจัดการ จากสภาพการ ด าเนินงานของเขตเศรษฐกิจพิเศษในประเทศไทยที่ไม่มีความพิเศษจริง 2. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ในด้านการบริหารจัดการของเขตเศรษฐกิจพิเศษในประเทศไทย ควรให้มีคณะกรรมการเขต เศรษฐกิจพิเศษ (Governor Boards) ประกอบด้วยผูแ้ ทนรัฐบาล ผูแ้ ทนข้าราชการส่วนท้องถิ่น ผู้แทนภาคประชาชน และผู้แทนนักลงทุน และนักบริหารมืออาชีพ ท าหน้าที่ ตัดสินใจเชิงนโยบาย และการบริหาร

abstract:

Abstract Title Developing a special economic zone management model to support Thailand's economic stimulation Field Economics Name Mr. Narongsak Boonyamalik Course NDC Class 62 This research aims to 1) Analyze and assess the overall aspect of previous operating conditions for establishing special economic zones in Thailand, including studying the problems and obstacles towards 10 SEZs management. 2) Study and compare the successful management models of SEZs in other countries in the form of Lesson Learned that can be applied as suggestions for Thailand. 3. Provide recommendations for developing a special economic zone suitable to stimulate Thailand's economy 1 place where is Mae Sot. For the scope of research, the researcher has studied current conditions, problems of developing special economic zones, and suggestions towards developing and managing 10 Special Economic Zones of Thailand as an overall aspect. Besides, the research method used in this study is the Qualitative Research Method. The researcher has synthesized various data, including opinions, documents, illustrations, and factual information, in various field trips. The research revealed a summary in 6 aspects, and recommendations as follows: 1) Recommendations towards management services, starting from the operating conditions of special economic zones in Thailand that are not strictly special. 2) Policy recommendations towards the management of special economic zones in Thailand. Moreover, a Board of Special Economic Zones (Governor Boards) should consist of government representatives, representatives of the local government, representatives of the local governor, investor representatives, and professional managers to make the decision related to policies and administration.