Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการกำกับดูแลราคาสินค้าและบริการโดยภาครัฐ, (วปอ.8958)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายณรงค์ งามสมมิตร, (วปอ.8958)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2562
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการก ากับดูแลราคาสินค้าและบริการโดยภาครัฐ ลักษณะวิชา การเมือง ผู้วิจัย นายณรงค์ งามสมมิตร หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 62 การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรคในการก ากับดูแลราคาสินค้าและ บริการโดยภาครัฐ เพื่อศึกษาวิเคราะห์ปัญหา อุปสรรคที่พบและเสนอแนะแนวทางการก ากับดูแลราคา สินค้าและบริการให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและเป็นธรรมกับทุกฝ่าย รวมทั้งผู้บริโภค โดยมีขอบเขต การวิจัยเพื่อพบปัญหา อุปสรรคของการก ากับดูแลราคาสินค้าและบริการโดยภาครัฐ จากการใช้ พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ พ.ศ. 2542 เป็นเครื่องมือ และการใช้มาตรการทาง บริหารของภาครัฐ โดยมุ่งเน้นที่จะเสนอแนะแนวทางการแก้ไขมาตรการทางกฎหมาย มาตรการทาง บริหาร และกระบวนการ โดยศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลจากข้อเท็จจริง หนังสือต ารา บทความ รายงานการ วิจัย วิทยานิพนธ์ เอกสารต่างๆ และทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า การก ากับดูแล ราคาสินค้าและบริการโดยภาครัฐ โดยใช้กฎหมายเป็นเครื่องมือ มีปัญหาอุปสรรคบางประการ อาทิ (1) การน าบทบัญญัติกฎหมายว่าด้วยราคาสินค้าและบริการเกี่ยวกับการก าหนดราคาซื้อ ราคาจ าหน่าย ก าหนดอัตราก าไรสูงสุด ก าหนดส่วนต่างราคาซื้อ ขาย ไม่สามารถน ามาใช้ได้เข้มงวดมากนัก การเข้ามา แทรกแซงราคา ย่อมเกิดผลลบและกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศ (2) ปัญหาการประกาศก าหนด สินค้าและบริการควบคุมก่อนการก าหนดมาตรการ (3) ปัญหาการประกาศก าหนดราคาโดยไม่มี หลักเกณฑ์ที่ชัดเจน (4) การก าหนดมาตรการให้แสดงราคาจ าหน่ายยังไม่ครอบคลุมทุกสินค้า (5) ไม่มี หลักเกณฑ์ในการประกาศก าหนดสินค้าหรือบริการควบคุมที่ชัดเจน เป็นต้น ดังนั้น ผู้วิจัยจึงมี ข้อเสนอแนะว่า (1) การน ากฎหมายว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ เข้ามาควบคุมหรือแทรกแซงราคา ควรน ามาใช้ด้วยเหตุผลจ าเป็นอย่างยิ่ง ในภาวะปกติควรปล่อยให้ราคาเป็นไปตามกลไกตลาด (2) การ ประกาศก าหนดสินค้าหรือบริการควบคุมควรประกาศเท่าที่จ าเป็นต้องเข้ามาแทรกแซงและ มีหลักเกณฑ์ที่ชัดเจน (3) รัฐควรลดบทบาทในการแทรกแซงราคาลงเมื่อตลาดมีการแข่งขันโดยสมบูรณ์ (4) การก าหนดมาตรการให้แสดงราคาจ าหน่าย ควรก าหนดให้ครอบคลุมทุกสินค้า (5) ควรประกาศ หลักเกณฑ์และวิธีการที่ถือว่าเป็นการท าให้ราคาต่ าเกินสมควร สูงเกินสมควร หรือท าให้ปั่นป่วนซึ่ง ราคาสินค้าหรือบริการ เพื่อไม่ให้เป็นดุลพินิจ (6) ควรยกเลิกบทบัญญัติที่ต้องมีการประกาศเป็นสินค้า และบริการควบคุม ก่อนประกาศก าหนดมาตรการ เพื่อความคล่องตัวในการก ากับดูแลได้อย่าง กว้างขวางในทุกสินค้าและบริการ ทั้งนี้ เพื่อให้การก ากับดูแลราคาสินค้าและบริการมีประสิทธิภาพมากขึ้น

abstract:

Abstract Title Guidelines for Price Control of Goods and Services by the Government Sector Field Politics Name Mr. Narong Ngamsommit Course NDC Class 62 This research aimed to study the problems and obstacles in the price control of goods and services by the government and to study and analyze encountered problems and obstacles and suggested guidelines for price control of goods and services to be more efficient and fair to all parties including consumers with the scope of research to find the problems and obstacles to the government's control of prices of goods and services from the use of the Price of Goods and Services Act, B.E. 2542 as a tool and the use of governmental administrative measures with a focus on suggesting solutions to legal measures, administrative measures and processes. The study analyzed information from facts, books, textbooks, articles, research reports, thesis, related documents and review literature. The research found that the control of prices of goods and services by the government using the law as a tool, there were some obstacles such as (1) applying the provisions of the law on prices of goods and services relating to determination of the purchase price, the selling price, the maximum profit margin, price difference, could not be used very strict and price intervention would have a negative effect and affect the economy of the country, (2) problems of announcing control products and services before determining measures, (3 ) problems in announcing pricing without clear criteria, (4) the measure of the price display was not covered by all products, (5) there were no clear rules for announcing specific controlled goods or services, etc. Therefore, the researcher had suggested that (1) the application of the law on prices of goods and services to control or intervene in price should be used for very necessary reasons while in normal conditions, prices should be left to comply with market forces, (2) the announcement of controlled goods or services should be announced as necessary to intervene and contain clear rules, (3) the government should reduce its role in price intervention when the market was completely competitive, (4) the measure of selling price display should be set to cover all products, (5) government should announce rules and procedures deemed to cause unreasonable low price, unreasonable high price or disturbing prices of goods or services so as not to be at the discretion, (6) the provisions that must be declared as controlled goods and services should be repealed before announcing measures in order to widespread regulatory flexibility in all goods and services to provide more efficient supervision of prices for goods and services.