Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ กรณีศึกษาจังหวัดปทุมธานี

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, รองศาสตราจารย์ ดร. สุดใจ ทูลพานิชย์กิจ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การพฒั นาคุณภาพชีวติของผู้สูงอายุกรณีศึกษาจงัหวดัปทุมธานี ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วจิยั รองศาสตราจารย์.ดร.สุดใจ ทูลพานิชยก ์ิจ หลักสูตรวปม.รุ่นที่ 7 การวิจัยเรื่ อง การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุกรณี ศึกษาจังหวัดปทุมธานี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1. สภาพทวั่ ไปทางประชากรศาสตร์เศรษฐกิจและสงัคม ของผสูู้งอายุ 2. ปัจจัยที่มีผลต่อความสุขและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ 3. หาแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามจากผู้สูงอายุในจังหวัดปทุมธานีจ านวน 400 ราย สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ สถิติพรรณนา และการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร โดยการ ทดสอบไคว์สแคว์ ผลการวิจัยพบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่เป็ นเพศหญิง มีสถานภาพสมรส อายุอยู่ระหว่าง 60-69 ปี มีโรคประจ าตัว โดยเฉพาะโรคความดันโลหิต และต้องทานยาประจ า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ออกก าลังกายนานๆ คร้ัง นอนวันละประมาณ 8-9 ช.ม. นิยมไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาลของรัฐ โดยโดยมีค่าใชจ้่ายเฉลี่ยไม่เกินคร้ังละ500 บาท ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับประถมศึกษา มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 500 - 2,499 บาท มีทรัพย์สินมูลค่ามากกว่า 102,000 บาท มีหน้ีสิน 5,000- 44,999 บาท ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่ได้เป็ นสมาชิกชมรมหรือสมาคมใดๆ และอาศัยในบ้านของ ตัวเอง ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นบา้นเดี่ยว มีพ้ืนที่ประมาณ 10-29 ตารางวา ใช้โทรศัพท์มือถือ แต่ส่วนใหญ่ ใช้อินเตอร์เน็ตไม่เป็ น ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีงานท าก่อนเกษียณเป็ นพนักงานระดับล่าง หลังเกษียณ ส่วนใหญ่อยู่บ้านท างานเล็กๆ น้อยๆ และไม่ได้รับสวัสดิการจากการท างาน ด้านคุณภาพชีวิตของ ผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่มีในระดับปานกลาง การทดสอบความสัมพันธ์พบว่า ปัจจัยส่วนใหญ่ท้งั 4 ด้าน มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ควรเน้น ในด้าน 1. การให้บริการความรู้แก่ผู้สูงอายุในด้านการบริโภคอาหาร 2. การใช้อินเตอร์เน็ต 3. การจัดโปรแกรมดูแลสุขภาพ 4. การจัดกิจกรรมนันทนาการเพื่อพัฒนาผู้สูงอายุใหแ้ข็งแรงท้งัร่างกายและจิตใจ

abstract:

ABSTRACT Title THE DEVELOPMENT OF ELDERLY QUALITY OF LIFE A CASE STUDY IN PATHUMTHANI Field SOCIAL-PSYCHOLOGY Name ASSOCIATE PROFESSOR DR.SUDJAI TOLPANICHGIT Course NDC(SPP) Class 7 The objectives of this study were 1. to investigate the demographic and socio – economic characteristics of elderly population in Pathumthani. 2. to study the factors Influencing the elderly quality of life in Pathumthani. 3. to study the ways to develop the elderly quality of life. The data were collected from 400 elderly population in Pathumthani through the use of questionnaires. The statistics used for data analysis were descriptives statistics and relation test by Chi –Square. The results of the study showed that most elderly population were women, married, age 60 – 69 years. They had underlying diseases especially hypertension disease and they always take medicine. Most of the elderly population exercised once for along time. They slept 8 – 9 hours perday. They would like to go to government hospital when they were sick. The expense of medicine per time were not more than 500 baht. The elderly’s education were primary. Their average salary were 500 – 2,499 baht. Most of them had the assets more than 102,000 baht and their debt were 500 – 44,990 baht. Most of them were not the membership of any society and stayed in single house in the area of 10 –29 talangwa. Most of them had mobile phone and could not use internet. Before retirement they worked as a worker, after retirement most of them stayed and worked at their homes. They did not have any welfare. The elderly’s quality of life were moderate level. Due to relation test, it indicate that most of the 4 factors influenced the elderly quality of life. The ways to develop the elderly quality of life were 1. to provide knowledge of food and consumption for elderly population 2. to provide health cure program for them 3. to provide the activity program for enhaneing the strength of body and mind of elderly population.