เรื่อง: การพัฒนาความมั่นคงด้านพลังงานไฟฟ้ารองรับการเติบโตในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก, (วปอ.8952)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายชาติชาย ภุมรินทร์, (วปอ.8952)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การพัฒนาความมั่นคงด้านพลังงานไฟฟ้ารองรับการเติบโตในพื้นที่เขต
พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัย นายชาติชาย ภุมรินทร์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 6๒
เอกสารวิจัยเรื่องการพัฒนาความมั่นคงด้านพลังงานไฟฟ้ารองรับการเติบโตในพื้นที่เขต
พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาสภาพปัจจุบันและแนวโน้มการเติบโตของ
ความต้องการใช้พลังงานไฟฟ้าในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) เพื่อวิเคราะห์ระบบ
ไฟฟ้า ความต้องการพลังงานไฟฟ้า และแผนงานรองรับการให้บริการด้านพลังงานไฟฟ้าของการไฟฟ้า
ส่วนภูมิภาค (กฟภ.) พร้อมทั้งศึกษาปัญหา อุปสรรค และข้อจ ากัด เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาความ
มั่นคงด้านพลังงานไฟฟ้ารองรับการเติบโตในพื้นที่ EEC โดยมีขอบเขตของการวิจัยมุ่งเน้นการศึกษา
การพัฒนาในพื้นที่ 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง โดยท าการวิเคราะห์ความ
ต้องการใช้พลังงานไฟฟ้าในพื้นที่ แผนงานรองรับด้านระบบไฟฟ้า และระบบบริหารความต่อเนื่องทาง
ธุรกิจของ กฟภ. ซึ่งการวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยจะรวบรวม
ข้อมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวข้องจากเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง จากนั้นจะน าข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์
ความสามารถของระบบไฟฟ้าในการรองรับการเติบโตทางเศรษฐกิจในอนาคต และเสนอแนะแนว
ทางการพัฒนาความมั่นคงด้านพลังงานไฟฟ้ารองรับการเติบโตในพื้นที่ EEC จากผลการวิจัยพบว่า
กฟภ. ได้มีการจัดเตรียมแผนงานก่อสร้างสถานีไฟฟ้า ก่อสร้างและปรับปรุงระบบไฟฟ้าเพิ่มเติม ซึ่ง
สามารถรองรับการเติบโตในพื้นที่EEC ตลอดช่วงระยะเวลา ๕ ปีข้างหน้า (พ.ศ. ๒๕๖๓-๒๕๖๗) ได้
อย่างเพียงพอ และ กฟภ. ได้มีการน าระบบการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity
Management System: BCMS) ตามแนวทางมาตรฐานสากล ISO 22301:2012 มาใช้ในการบริหาร
จัดการภาวะวิกฤตทางด้านพลังงานไฟฟ้า โดยสามารถตอบสนองต่อเหตุการณ์และฟื้นคืนกระบวนงาน
หลักที่ส าคัญ (Critical Business Process) อย่างไรก็ตาม เนื่องจากกระแสการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี
ด้านพลังงานในอนาคต (Energy Transition) ดังนั้น จึงเสนอให้หน่วยงานด้านนโยบาย หน่วยงานที่
ก ากับดูแลกิจการพลังงานและกิจการไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และ กฟภ. ควรให้
ความร่วมมือกันอย่างบูรณาการทั้งในด้านการก าหนดนโยบายและการด าเนินงาน รวมถึงเสริมสร้าง
การมีส่วนร่วมกับภาคประชาชนและภาคเอกชน เพื่อการพัฒนาด้านพลังงานไฟฟ้าในเขตพื้นที่ EEC
ให้มีเสถียรภาพ มั่นคง สามารถรองรับการเติบโตในอนาคตได้อย่างยั่งยืน เสริมสร้างความเชื่อมั่นให้กับ
นักลงทุนในประเทศและต่างประเทศ ยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันทั้งในระดับภูมิภาคและ
ระดับสากลต่อไป
abstract:
Abstract
Title The development of energy security to support the growth in
Eastern Economic Corridor (EEC)
Field Science and Technology
Name Mr. Chardchai Pumarin Course NDC Class 62
The research onthe development of energy security to support the growth
in the Eastern Economic Corridor (EEC) aims to study the current and growth trend of
energy consumption the Eastern Special Development Zone, collect the problems,
obstacles, and restrictions include analyze power system to create PEA’s effective
energy service scenarios in the EEC. The scope of research focuses on analyzing energy
demand and preparing power development plan and PEA’ s Business Continuity
Management System targeted in 3 provinces; Chachoengsao, Chonburi and Rayong.
The research is a qualitative research started by collecting relevant secondary data
from the documents such as related articles and researches, electrical journals, and
so on. The data will be analyzed for the energy system's capabilities to support future
economic growth and get result as guideline to improve the electrical security in the
EEC area. The result shows that PEA plans to build new substations and power system,
which can support demand growth in the EEC area over a period of 5 years (Year BE
2563-25 6 7 ) . At the same time, PEA has adopted Business Continuity Management
System (BCMS) in accordance with international standards ISO 22301:2012 which helpful
manages the electricity crisis by responding to significant events,and recovering key critical
business process. However, from energy transition to renewable energy, the research
recommends Thai government agencies, Energy Regulatory Commission, EGAT, and PEA
to cooperate for synergetic policy and implementation. The recommendations also
enhance participation between public and private sectors to develop stable and
secure power system for sustainable coping with growth in the EEC area. Thus, Local
and international investors in the EEC are ensured that energy security in the power
system substantially developed and enhance competitiveness.