เรื่อง: แนวทางการปรับโครงสร้างภาษีสรรพสามิตเครื่องดื่มเพื่อความยั่งยืนทางเศรษฐกิจและสังคม
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว สุจิตรา เลาหวัฒนภิญโญ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
-กบทคัดย่อ
เรื
อง แนวทางการปรับโครงสร้างภาษีสรรพสามิตเครืองดืม เพือความยังยืนทางเศรษฐก ิจและสังคม
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผ้วิจัย ู นางสาวสุจิตรา เลาหวัฒนภิญโญ หลักสูตร วปม. ร่นที
ุ ๗
ภาษีสรรพสามิตเป็ นเครืองมือหนึงทางการคลังทีสําคัญในการหารายได้และขับเคลือนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมอย่างยังยืน โดยเป็ นภาษีทีจัดเก ็บจากสินค้าและบริการเฉพาะอย่างทีมีเหตุผลสมควร
ทีจะต้องรับภารภาษีสูงกว่าปกติ ในการศึกษาครั4งนี4 จึงมีวัตถุประสงค์ของการวิจัยในการศึกษาและ
วิเคราะห์โครงสร้างภาษีสรรพสามิตเครื องดืมในประเด็นของความเหมาะสมและสอดคล้องกบสภาพ ั
เศรษฐกิจและสังคม รวมถึงเปรียบเทียบโครงสร้างภาษีเครืองดืมในต่างประเทศ เพือเสนอแนะแนวทางใน
การปรับโครงสร้างภาษีสรรพสามิตเครืองดืม รองรับการกาวเข้าสู ้ ่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ทั4งนี4 เพือ
ความยังยืนทางเศรษฐก ิจและสังคม โดยมีขอบเขตการวิจัยเฉพาะโครงสร้างภาษีสรรพสามิตเครืองดืมทีไม่มี
แอลกอฮอล์ของประเทศไทยและต่างประเทศ สําหรับวิธีดําเนินการวิจัยเป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษา
จากเอกสารบทความ และงานวิจัยทีเกียวข้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที ๑๑
โครงสร้างภาษีสรรพสามิตของประเทศไทยและต่างประเทศ รายได้ภาษีสรรพสามิตและข้อเท็จจริงเกี
ยวกบั
เครืองดืมทีไม่มีแอลกอฮอล์
สําหรับผลการศึกษาพบว่าการกําหนดโครงสร้างภาษีสรรพสามิตเครื องดืม ไม่มีการ
เปลียนแปลงโครงสร้างภาษีสรรพสามิตเครืองดืมมาตั4งแต่ปี พ.ศ.๒๕๒๗ และจัดเก็บอยูบนหลักการความ ่
ฟุ่ มเฟื อย โดยปัจจุบันปัญหาภาวะนํ4าหนักเกินและโรคอ้วน เป็ นปัญหาสุขภาพทีสําคัญของประเทศไทย
ประกอบกบกลุ ั ่มประเทศทีพัฒนาแล้วหลายประเทศได้นําหลักบริหารการจัดเก็บภาษีสินค้าทีเกิดผลเสียต่อ
สุขภาพ โดยจัดเก็บภาษีสรรพสามิตจากเครืองดืมทีมีนํ4าตาล ประกอบกบในปี พ.ศ.๒๕๕๘ ประเทศไทยจะ ั
เข้าร่วมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จึงเป็ นโอกาสทีประเทศไทยจะปรับโครงสร้างภายในให้ทันสมัยและ
สอดคล้องกบบริบทของประเทศ ซึ งในการศึกษาครั ั 4งนี4ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะในการปรับโครงสร้างภาษี
สรรพสามิตเครืองดืม ดังนี4 ๑. เปลียนวัตถุประสงค์หลักของการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตเครืองดืม จากจัดเก็บ
สินค้าฟุ่ มเฟื อยเป็ นจัดเก็บภาษีสินค้าเพือสุขภาพทีดีของประชาชนด้วย ๒. กาหนดหลักเกณฑ์การจัดเก ํ ็บ
ภาษี โดยใช้ปริ มาณนํ4าตาลหรื อสารเพิมความหวานต่อหน่วยบริ โภค โดยประสานความร่วมมือกับ
หน่วยงานด้านสาธารณสุข เช่น กรมอนามัย สํานักอาหารและยา เป็ นต้น ๓. สําหรับเครืองดืมประเภทนํ4าแร่
เทียม นํ4าโซดา เป็ นสินค้าทีเกินความจําเป็ น จึงควรทีจะให้มีการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตต่อไป ทั4งนี4 ในการ
ปรับโครงสร้างภาษีสรรพสามิตเครื องดืมนั4น จําเป็ นจะต้องมีการประชาสัมพันธ์ เพือให้ความรู้แก่
ประชาชนให้ตระหนักถึงความสําคัญของการบริโภคอาหารและเครืองดืมทีมีผลต่อสุขภาพควบคู่ไปด้วย
abstract:
ABSTRACT
Title : Protocol in assembling beverage’s excise taxes for sustainable economic and social
development
Field : Economics
Name : Miss Suchitra Laohawattanapinyo Course : NDC (SPP) Class : 7
Excise tax is one of the most significant tools of ministry of finance in generating
revenues and encourages sustainable economy growth. The tax is imposed on specific products,
goods and services at higher rates as deems appropriate. The purpose of this research is to educate,
analyze and focus on the structure of beverage’s excise taxes in relation to economical and civil
situation while comparing them with foreign countries, in order to polish and revise the structure of
these taxes in preparation for the convergent of the ASEAN Economics Community (AEC);
Targeting the structure of non-alcoholic beverage’s excise taxes for both domestic and abroad. The
research is qualitative, by extracted valuable date from documented researches related to The
Eleventh National Economics and Social Development Plan, the structure of excise taxes in Thailand
and overseas, revenue from excise taxes and other facts relating to non-alcoholic beverages.
The research found the structure of excise taxes have not been restructured since 1984
and legislated based on extravagant principle. Nowadays, obesity are among a major health issue in
Thailand, while many developed countries impose very high tariff on these health affected goods and
services and based largely on sugary drinks. Thailand is currently under preparation to a part of AEC
next year; hence this is an opportunity to reconstruct and improve tax system in correlation to social
concerns. From studies researchers has suggest the reconstructions as follows 1. Changing target of
imposed excise tax from extravagant product alone to include other health threatening products as
seem appropriate 2. By cooperating with public health organization such as Department of Health and
the Food and Drug Administration 3. Mineral water and soda water are deems as unnecessarily and
shall be imposed by excise taxes. Nevertheless, all the mentioned alteration of these taxes shall be
announced and educated to the public while raise an awareness on the importance of consuming
healthy food and beverages accordingly.