เรื่อง: การพัฒนาแหล่งน้ำและการบริหารจัดการน้ำลุ่มน้ำปัตตานี ตามยุทธศาสตร์กรมชลประทาน ๒๐ ปี, (วปอ.8945)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติยุทธศาสตร์/Strategy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายเฉลิมชัย ตรีนรินทร์, (วปอ.8945)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การพัฒนาแหล่งน ้าและการบริหารจัดการน ้าในพื นที่ลุ่มน ้าปัตตานี
ตามยุทธศาสตร์กรมชลประทาน 20 ปี
ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์
ผู้วิจัย นายเฉลิมชัย ตรีนรินทร์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 62
การวิจัยครั งนี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาแหล่งน ้าและบริหารจัดการน ้า
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบ รวมทั งเสนอแนวทางการพัฒนาศักยภาพของการพัฒนาแหล่งน ้าและการบริหาร
จัดการลุ่มน ้าปัตตานี ตามยุทธศาสตร์กรมชลประทาน 20 ปี โดยก้าหนดวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ จากการรวบรวม
ข้อมูลทุติยภูมิ จากเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง มาวิเคราะห์ และเก็บข้อมูลปฐมภูมิ
โดยการสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูงของกรมชลประทาน ผู้เชี่ยวชาญ ผู้อ้านวยการส่วน ผู้อ้านวยการ
โครงการ ในพื นที่ส้านักงานชลประทานที่ 17 ผู้อ้านวยการส้านักงานทรัพยากรน ้าแห่งชาติภาค 4 และ
ผู้อ้านวยการทรัพยากรน ้าภาค 8
ผลการศึกษาพบว่าลุ่มน ้าปัตตานีมีพื นที่ 2,302,632 ไร่ ครอบคลุมพื นที่จังหวัดยะลา
และจังหวัดปัตตานี มีพื นที่เกษตรกรรม 1,294,407 ไร่ เป็นพื นที่ชลประทานและพื นที่รับประโยชน์
ที่สามารถเข้าถึงการใช้น ้า 585,558 ไร่ มีการบริหารจัดการน ้าระบบลุ่มน ้า โดยคณะกรรมการจัดการ
น ้าชลประทาน (JMC) ร่วมวางแผนการพัฒนาแหล่งน ้า การจัดสรรน ้า การป้องกันบรรเทาภัยอันเกิด
จากน ้า ทั งในช่วงฤดูฝนและฤดูแล้ง ซึ่งปัจจุบันยังคงประสบปัญหาภัยแล้งและอุทกภัย มีสาเหตุจาก
งานพัฒนาแหล่งน ้าที่ยังไม่สมบูรณ์อาคารชลประทานยังมีไม่ครอบคลุมพื นที่ ท้าให้มีเครื่องมือไม่
เพียงพอที่ใช้ในการบริหารจัดการน ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาแหล่งน ้าในพื นที่ลุ่มน ้าปัตตานี ได้แก่ งบประมาณการ
ใช้ที่ดินและกระบวนการมีส่วนร่วมขององค์กรด้านน ้า และปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการบริหารจัดการน ้า
ในพื นที่ลุ่มน ้าปัตตานีได้แก่ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ปัญหาการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน
กระบวนการมีส่วนร่วมขององค์กรด้านน ้า อาคารชลประทานที่ถ่ายโอนตามภารกิจไม่สามารถบริหาร
จัดการน ้าได้เต็มประสิทธิภาพ และจ้านวนบุคลากรที่มีจ้านวนลดลง
แนวทางการพัฒนาแหล่งน ้าและการบริหารจัดการน ้าในลุ่มน ้าปัตตานีโดยการใช้
สิ่งก่อสร้างและไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง ซึ่งต้องด้าเนินงานควบคู่กันตามแผนแม่บทการบริหารจัดการ
ทรัพยากรน ้า 20 ปีโดยการเพิ่มปริมาณน ้าเก็บกักและพื นที่ชลประทานในพื นที่ตอนบนและตอนกลาง
ของลุ่มน ้าปัตตานี การปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพระบบชลประทาน และระบบระบายน ้าในพื นที่ตอนล่าง
ของลุ่มน ้าปัตตานีประกอบด้วย
แผนพัฒนาแหล่งน ้าในพื นที่ลุ่มน ้าปัตตานี ระยะสั น (1) งานพัฒนาแหล่งน ้าเพื่อเพิ่ม
ปริมาณเก็บกักในพื นที่ลุ่มน ้าปัตตานีจ้านวน 79 โครงการ แบ่งเป็น โครงการขนาดใหญ่ จ้านวน
1 โครงการ โครงการขนาดกลาง จ้านวน 4 โครงการ และโครงการขนาดเล็ก จ้านวน 74 โครงการ (2) งานเพิ่ม
ประสิทธิภาพการบริหารจัดการลุ่มน ้าปัตตานีตอนล่าง โดยการเพิ่มประสิทธิภาพการหน่วงน ้าเขื่อน
ปัตตานี ปรับปรุงระบบส่งน ้า ระบบระบายน ้า และระบบป้องกันอุทกภัยชุมชน จ้านวน 2 แห่ง และ ข
(3) การทบทวน ศึกษาความเหมาะสมการพัฒนาแหล่งน ้าในพื นที่ลุ่มน ้าปัตตานีทั งระบบให้ครอบคลุม
ในทุกมิติ ตอบสนองความต้องการใช้น ้าทุกภาคส่วน ประกอบด้วย งานศึกษาความเหมาะสมโครงการ
พัฒนาแหล่งน ้า จ้านวน 7 โครงการ และโครงการป้องกันภัยทางน ้า จ้านวน 1 โครงการ ส่วนระยะยาว
ควรศึกษาความเหมาะสมการปรับปรุงโครงการส่งน ้าและบ้ารุงรักษาปัตตานี เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
โครงการชลประทานในพื นที่ตอนล่าง ปรับปรุงระบบส่งน ้า และระบบระบายน ้าให้สมบูรณ์ สามารถใช้
งานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ น
ส่วนการบริหารจัดการน ้าในพื นที่ลุ่มน ้าปัตตานีควรส่งเสริมการสร้างกระบวนการรับรู้
ในเรื่องการบริหารจัดการน ้าของประชาชนในพื นที่ลุ่มน ้าปัตตานีให้รู้คุณค่าของน ้า และใช้น ้าอย่าง
ประหยัด เสริมสร้างความเข้มแข็งและพัฒนาศักยภาพองค์กรกลุ่มผู้ใช้น ้าชลประทานไปสู่การท้า
การเกษตรแบบใช้น ้าน้อย และเพิ่มมูลค่าการผลิตและส่งเสริมให้คณะกรรมการจัดการน ้าชลประทาน
(JMC) เข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนการก้าหนดนโยบายการบริหารจัดการน ้าชลประทานให้ทุกภาค
ส่วนได้รับน ้าอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม และส้ารวจสภาพของสถานีโทรมาตรที่มีอยู่เดิมในลุ่มน ้าปัตตานี
ทั งหมด เพื่อซ่อมแซมปรับปรุงและก่อสร้างเพิ่มเติมให้ครอบคลุมพื นที่ เพื่อให้สามารถประชาสัมพันธ์
แจ้งข้อมูลข่าวสารเตือนภัยประชาชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบได้อย่างรวดเร็ว ทันต่อ
เหตุการณ์
ทั งนี การด้าเนินงานตามแนวทางพัฒนาแหล่งน ้าและการบริหารจัดการน ้าในพื นที่ลุ่มน ้า
ปัตตานีจะส้าเร็จได้ยั่งยืนตามแผนยุทธศาสตร์กรมชลประทาน 20 ปีนั น ภาครัฐควรให้ความส้าคัญ
ในการพิจารณากรอบวงเงินงบประมาณในการศึกษา เพื่อการพัฒนาและการบริหารจัดการน ้าใน
ระบบลุ่มน ้าครอบคลุมทุกมิติและควรบูรณาการระหว่างหน่วยงานองค์กรด้านน ้าที่เกี่ยวข้อง ร่วม
จัดท้าแผนพัฒนาแหล่งน ้าและการบริหารจัดการระดับลุ่มน ้าในทิศทางเดียวกันและแลกเปลี่ยนข้อมูล
เพื่อการจัดการภัยพิบัติร่วมกัน
abstract:
Abstract
Title : Water Resource Development and Management in the Pattani
River Basin Area Under the 20-year Strategy of the Royal Irrigation
Department
Field : Strategy
Name : Mr. Chalermchai Treenarin Course : NDC Class : 62
This research aims to study the guideline for water resource
development and management, and influential factors as well as to propose the
guideline for enhancing the efficiency of water resource development and
management in the Pattani River basin area under the 20-year strategy of the Royal
Irrigation Department. The method used for this research is the qualitative research
through the collection and analysis of secondary data, for examples documents on
concepts, theories and related research, and the collection of primary data by
interviewing high-level officials of the Royal Irrigation Department, experts, the
Director of Project Administration Section at the Regional Irrigation Office 17, the
Director of National Water Resources Regional Office 4 and the Director of Water
Resources Regional Office 8.
From the research, it was found that the Pattani River basin has the total
area of 2,302,632 rai, covering Yala and Pattani Provinces, with the agricultural area of
1,294,407 rai. The irrigated area and the area accessible to water are accounted for
585,558 rai. There is water management system for the river basin formed by Joint
Management Committee for Irrigation (JMC) whose mission is to jointly make plans
for water development and distribution as well as water-related disaster prevention,
both in the rainy and dry seasons. Presently, the area is still facing the problems of
drought and flooding which are caused by the incomplete water source
development system. The number of the irrigation structures has not yet covered all
areas. Therefore, the equipment is not sufficient for an effective water management.
The factors affecting the development of water resources in the Pattani
River basin area are budget, land utilization and participation of water-related
organizations. The factors affecting the management of water in the Pattani River basin
area are climate change, changes of land utilization, participation of water-related
organizations, ineffectiveness of the irrigation structures and decreased number of
officials.ง
Under the 20-years strategy of the Royal Irrigation Department, the
development and management of water sources in the Pattani River basin area can
be done with the coherent use of structural and non-structural resources, aiming to
increase the storage water and irrigated areas in the upper and central Pattani River
basin, and to develop and enhance the efficiency of irrigation system and drainage
system in the lower Pattani River basin. The plan is as follows:
The short-term plan for the water resource development in the Pattani
River basin area: (1) The development of water resources in the Pattani River basin of
79 projects with 1 large project, 4 middle projects and 74 small projects, (2) The
enhancement of management of the lower Pattani River basin by increasing the
effectiveness of the water bank creation in Pattani Dam, enhancing the delivery
system, drainage system and 2 community flood prevention systems, (3) The revision
and study to find appropriate method for the whole system of water resource
development in the Pattani River basin area to tackle all dimensions and to be able
to respond every party’s needs, including the study on the appropriateness of 7
water resource development projects and 1 water-related disaster prevention
project. In the long run, there should be a study on the possibility of the
development of the water distribution and maintenance Project in Pattani Province
in order to enhance the effectiveness of the irrigation project in the lower area and
to develop the water delivery system and drainage system to reach their fullest
capacity and efficiency.
Regarding the management of water in the Pattani River basin area, there
should be the promotion of the creation of understanding on water management
among the people around the Pattani River basin area about values of water and
economical use of water; the strengthening and development of the potential of
the water users’ group towards the agriculture with less water; the increase of
production value; the incorporation of Joint Management Committee for Irrigation
(JMC) into the policy planning on irrigated water management to benefit all parties
fairly; and the survey of the condition of all existing telemetre stations in Pattani
Province in order to repair and build additional stations to cover every area which
will make it possible to broadcast announcements and warnings to the people and
concerned agencies fast and up-to-dated.
All in all, for the implementation of water resource development and
management in the Pattani River basin area to sustainably succeed according to the
20-year strategy of the Royal Irrigation Department, the government should press
importance on the allocation of budget for the study on water resource จ
development and management in the river basin system in all aspects and there
should be the integration among water-related agencies in drafting the plans for
water resource development and management in the river basin in the similar
direction, as well as the exchange of information in order to manage disaster
together.