เรื่อง: ผลกระทบของนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลผ่านมาตรการ “ชิมช้อปใช้” เฟส ๑, (วปอ.8941)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางจันท์นิภา สถิรปัญญา, (วปอ.8941)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง ผลกระทบของนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล ผ่านมาตรการ
“ชิมช้อปใช้” เฟส ๑
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นางจันท์นิภา สถิรปัญญา หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๒
นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจหรือนโยบายกระตุ้นทางการคลัง เป็นการด าเนินงานของ
ภาครัฐเพื่อเป็นเครื่องมือในการพยุงระบบเศรษฐกิจภายในประเทศในช่วงที่เศรษฐกิจของประเทศ
ชะลอตัว โดยการด าเนินการของมาตรการเป็นการอัดฉีดเม็ดเงินในระยะสั้นที่จะส่งผลกระทบ
ต่อสภาพคล่องทางเศรษฐกิจที่ดี การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ ๓ ประการ คือ ๑. เพื่อศึกษานโยบาย
มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล ๒. เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบทางเศรษฐกิจของนโยบาย
การกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล เมื่อรัฐบาลจัดสรรงบประมาณในการด าเนินมาตรการส่งเสริม
การบริโภคภายในประเทศ “ชิมช้อปใช้” เฟส ๑ และ ๓. เพื่อเสนอแนวทางการด าเนินการมาตรการ
กระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลส่งเสริมการบริโภคภายในประเทศ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (In - depth
Interview) จากประชาชนที่เข้าร่วมโครงการในเขตกรุงเทพมหานคร ท าให้ทราบถึงการใช้จ่าย
ของภาคประชาชนจากการน าเงินที่ได้รับจากรัฐบาลไปใช้ ผลการศึกษาพบว่า ผลกระทบของนโยบาย
เพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจระยะสั้นนั้นการด าเนินงานยังคงมีการกระจุกตัวอยู่ในบางพื้นที่ ซึ่งไม่ก่อให้เกิด
การกระจายรายได้อย่างทั่วถึงและลงถึงชุมชนผู้ที่ได้รับประโยชน์หลักจากการมาตราการกระตุ้น
เศรษฐกิจ คือ ผู้ประกอบการขนาดใหญ่ อาทิ ห้างสรรพสินค้า ร้านค้าสะดวกซื้อ เป็นต้น โดยผู้ลงทะเบียน
ใช้สิทธิ์ที่ได้รับเงินจ านวน ๑,๐๐๐ จากรัฐบาล โดยส่วนใหญ่จะใช้จ่ายเงินตามวงเงิน ๑,๐๐๐ บาท
ที่ได้รับพอดี คิดเป็นร้อยละ ๕๔.๗ และกลุ่มคนที่ใช้จ่ายเกินเกินวงเงิน ๑,๐๐๐ บาท ที่มีการใช้จ่าย
เฉลี่ยต่อคนโดยประมาณ ๓,๓๐๐ บาทต่อคน คิดเป็นร้อยละ ๔๓ และใช้น้อยกว่า ๑,๐๐๐ บาท
ร้อยละ ๒.๓ สะท้อนให้เห็นว่าประชาชนโดยส่วนใหญ่แล้วยังคงระมัดระวังการใช้จ่ายและยังคงเก็บเงิน
ของตนเองไว้ในกระเป๋าและใช้จ่ายเพียงเงินที่ได้รับจากรัฐบาล ข้อเสนอแนะ ๑. สนับสนุน
การด าเนินการใช้งบประมาณหรือออกมาตรการเพื่อให้เกิดการสร้างหรือจ้างงานแทนการให้เงิน
เพื่อไปเที่ยวหรือบริโภค และ ๒. เร่งสร้างฐานข้อมูลพื้นฐานหรือสร้างมาตรฐานในการจัดการข้อมูล
ของประชาชนหรือโครงข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อการใช้งานให้มีประสิทธิภาพเพื่อเป็นฐานข้อมูล
เพื่อประกอบการวิเคราะห์และเพื่อสนับสนุนการด าเนินตามนโยบายของรัฐบาลกัน
abstract:
Abstract
Title The impact of economic stimulus campaign “Chim Shop Chai,” Phase I
Field Economics
Name Mrs. Junnipa Sathirapanya Course NDC Class 62
Economic stimulus package policy plan or fiscal stimulus plan is a state
intervention to bolster domestic consumption during economic stagnant, by injecting
short-term liquidity directly to consumer, expecting subsequent economic cashflow.
This research aimed 1. to study the government’s economic stimulus package policy,
2. to analyze economic impact from the “Chim, Shop, Chai Phase I,” campaign and
3. to propose an alternative economic stimulus plan to promote domestic consumption.
This research is a qualitative research, through in-depth interviewing of selected
participants in Bangkok, to understand how the money has been spent. The study
found the desirable effects of the campaign has been intensified in some areas,
which has not been distributed down to communities. Benefit goes to apex retailers,
including shopping malls, and convenient stores. The registered participants would
receive THB 1,000 worth credit to their account, and only 54.7 percent spent the
entire thousand, while 43 percent end up spending more at the average of THB 3,300 on
their transactions, and the remaining 2.3 percent spend less than THB 1 ,0 0 0 allocated
budget. This shows more participants are conservative spenders to save their own
cash intact, and precisely spent only government endowned stiumulus money.
Policy planning points should include 1. Direct budget allocation towards construction
and employment instead of recreational traveling, and 2. To construct a common
online population database to efficiently use in further analysis and support functions
for the government.