Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางในการบูรณาการระบบงบประมาณร่วมกับระบบ การส่งกำลังบำรุงของกองทัพอากาศ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการ เตรียมกำลังทางอากาศ, (วปอ.8932)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, น.อ.ขจรศักดิ์ พ่วงจินดา, (วปอ.8932)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2562
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางในการบูรณาการระบบงบประมาณร่วมกับระบบการส่งก าลังบ ารุง ของกองทัพอากาศ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการเตรียมก าลังทางอากาศ ลักษณะวิชา การทหาร ผู้วิจัย นาวาอากาศเอก ขจรศักดิ์ พ่วงจินดา หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๒ การบูรณาการระบบงบประมาณร่วมกับระบบการส่งก าลังบ ารุงของกองทัพอากาศ เป็นการด าเนินการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเตรียมก าลังทางอากาศของกองทัพอากาศ ภายใต้ สภาวะแวดล้อมของโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว รองรับการพัฒนาประเทศภายใต้โมเดล “ประเทศไทย ๔.๐” เป็นส่วนหนึ่งที่จะช่วยผลักดันให้แผนงาน โครงการและกิจกรรมของกองทัพอากาศสามารถบรรลุผล ตามเป้าหมาย สอดคล้องกับยุทธศาสตร์กองทัพอากาศ และยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ด้านความมั่นคง ของรัฐบาล งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเ ป็นมาของ การบริหารงานงบประมาณและระบบการส่งก าลังบ ารุงของกองทัพอากาศ ศึกษาปัญหา การบริหารงานของระบบการบริหารงบประมาณและระบบการส่งก าลังบ ารุงของกองทัพอากาศที่ยัง ไม่มีการบูรณาการร่วมกัน ตลอดจนก าหนดแนวทางในการบูรณาการระบบงบประมาณร่วมกับระบบ การส่งก าลังบ ารุงของกองทัพอากาศ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการงบประมาณและ การส่งก าลังบ ารุงของกองทัพอากาศ ซึ่งจะส่งผลให้กองทัพอากาศสามารถเพิ่มระดับความพร้อม ในการเตรียมก าลังทางอากาศได้ โดยมีขอบเขตการศึกษาวิจัยด้านเนื้อหาตามวัตถุประสงค์ของ การวิจัย รวมทั้งศึกษาความเสี่ยงและปัจจัยของความส าเร็จในการบูรณาการระบบงบประมาณร่วมกับ ระบบการส่งก าลังบ ารุงของกองทัพอากาศด้วย นอกจากนี้มีการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้อง ๓ ด้าน ได้แก่ ด้านนโยบาย ด้านปฏิบัติงาน และด้านเทคนิค โดยด าเนินการในห้วงเวลาตั้งแต่ ตุลาคม ๒๕๖๒ – พฤษภาคม ๒๕๖๓ ด าเนินการวิจัยตามระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ตั้งแต่ การรวบรวม ข้อมูลการจัดระเบียบข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการน าผลการศึกษาจากข้อมูลที่มีมาประมวล ท าการสังเคราะห์ หาข้อสรุป ผลการวิจัย ผู้วิจัยได้น าข้อมูลที่ผ่านการรวบรวมและวิเคราะห์ปัญหาการด าเนินงาน ในด้านต่าง ๆ มาท าการวิเคราะห์ร่วมกับการบริหารความเสี่ยงในการที่จะต้องบูรณาการระบบงาน ของสองหน่วยงาน ซึ่งมีระบบการท างานที่แตกต่างกัน ท าให้พบว่ามีสิ่งที่จะต้องด าเนินการพัฒนา เพิ่มเติม เพื่อให้การบูรณาการด าเนินการไปได้อย่างราบรื่น โดยการก าหนดแนวทางในการบูรณาการ ระบบงบประมาณร่วมกับระบบการส่งก าลังบ ารุงของกองทัพอากาศ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการ เตรียมก าลังทางอากาศ แบ่งออกเป็น ๓ ระดับได้แก่ ด้านนโยบาย ด้านปฏิบัติการ และด้านเทคนิค รวมทั้งได้มีข้อเสนอแนะส าหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องน าไปใช้เป็นแนวทางในการควบคุม ติดตามและ ประเมินผล กิจกรรมต่าง ๆ ที่จะส่งผลให้กองทัพอากาศมีระดับความพร้อมในการเตรียมก าลังที่สูงขึ้น ภายใต้สภาวะแวดล้อมของโลกที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งสามารถสนับสนุนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ด้านความมั่นคง ตามที่ได้รับมอบหมายจากกระทรวงกลาโหม และรัฐบาล

abstract:

Abstract Title Guidelines for the Integration of the RTAF Budget System and the RTAF Logistics System to Enhance the RTAF Capability in Air Power Preparation Field Military Name Gp.Capt.Kajohnsak Puangjinda Course NDC Class 62 The Integration of the RTAF budget system and the RTAF logistics system is an operation to increase the effectiveness of the RTAF air power preparation in order to deal with todays’ fast-changing world and support the “Thailand 4.0”economic development model. This integration is a process that helps the RTAF execute successful plans, projects and activities in accordance with the RTAF Strategy and the 20-Year National Strategy in the area of the government security. This research is a qualitative research. The purposes of this study are 1) to explore the RTAF budget management background and the RTAF logistics system background 2) to study the management problems found in the RTAF budget system and the RTAF logistics system before the integration of two systems 3) to establish guidelines for the integration of the RTAF budget system and the RTAF logistics system in order to improve the effectiveness in the RTAF budget and logistics management and 4) to identify the risks and factors for the successful integration of the RTAF budget system and the RTAF logistics system. The scope of this research covers the information relevant to the purposes of the research. The researcher conducted three expert interviews from three different areas of expertise which are policy area, operation area and technical area. The interviews were carried out from October 2019 to May 2020. The researcher followed the qualitative research process consisting of data collection, data management, data analysis, process data, data evaluation and synthesis, and conclusion. To achieve the result, the researcher analyzed all data collected, including the management problems found in the RTAF budget system and the RTAF logistics system, together with the risk management in the integration of the mentioned systems. The result of the research shows that the guidelines for the integration of the RTAF budget system and the RTAF logistics system to enhance the RTAF capability in air power preparation should be implemented. The guidelines should cover three areas which are policy area, operation area and technical area. In addition, other related units of the RTAF should take the guidelines into consideration and follow the guidelines in order to monitor and evaluate their activities associated with the enhancement of RTAF combat ready and the 20-Year National Strategy in the area of security assigned by the Ministry of Defence and the government.