เรื่อง: การพัฒนากำลังพลสำรองเพื่อความมั่นคง ของหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ, (วปอ.8926)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พ.อ. เกรียงศักดิ์ ภัทรพงศ์สินธุ์, (วปอ.8926)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
เรื่อง การพัฒนาก าลังพลส ารองเพื่อความมั่นคงของหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
ลักษณะวิชา การทหาร
ผู้วิจัย พันเอก เกรียงศักดิ์ ภัทรพงศ์สินธุ์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๒
การวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาเกี่ยวกับ การพัฒนาก าลังพลส ารองเพื่อความั่นคงของ
หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ ตามแนวทางของกองทัพบก ที่ได้ตอบสนองความมั่นคงด้านการป้องกัน
ประเทศในปัจจุบัน ด้วยการปรับโครงสร้างก าลังกองทัพให้มีขนาดเล็ก กะทัดรัด แต่ให้มีก าลังพลที่
มีความสามารถและอาวุธยุทโธปกรณ์ที่ทันสมัย ปรับปรุงระบบก าลังส ารองและการเรียกเกณฑ์ให้เกิด
สัมฤทธิ์ผลในการปฏิบัติซึ่งการพัฒนาก าลังพลส ารองจะต้องพัฒนาให้มีประสิทธิภาพมีความพร้อมรบและ
สามารถทดแทนก าลังประจ าการได้ในสัดส่วนที่เหมาะสม หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
เป็นหน่วยขึ้นตรงของกองทัพบก ที่จะต้องปฏิบัติตามนโยบายดังกล่าวนี้
ซึ่งการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอุปสรรคการด าเนินการในการพัฒนา
ก าลังพลส ารองเพื่อความมั่นคงของหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ และในปัจจุบันปัญหาที่เกิดขึ้น
เพื่อศึกษา, เสนอวิธีการ, รูปแบบการพัฒนาก าลังพลส ารอง ของหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
วิธีการศึกษาใช้วิธีการเชิงคุณภาพ ท าการเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิจากการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลัก
ได้แก่ ผู้บังคับบัญชาหน่วยรบพิเศษที่ได้รับการบรรจุมอบก าลังพลส ารองยังหน่วยของตนและสนทนา
กลุ่มกับฝ่ายอ านวยการของหน่วยดังกล่าวที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินการของก าลังพลทั้งสิ้น ๘ – ๑๒
คน และข้อมูลทุติยภูมิจากการศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูลจากเอกสารทางวิชาการ, เอกสารวิจัย
ตลอดจนเอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง, การวิเคราะห์ข้อมูลเป็นการพรรณนาวิเคราะห์ โดยน าข้อมูล
มาพิจารณาและวิเคราะห์ เพื่อให้ได้ข้อสรุปเป็นแนวทางการพัฒนาก าลังพลส ารองเพื่อความั่นคงของ
หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ โดยเน้นข้อมูลให้กับฝ่ายอ านวยการและผู้บังคับบัญชาเพื่อน าไป
ประกอบเป็นข้อมูลในการตัดสินใจ เพื่อพัฒนาก าลังพลส ารองของหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
ให้มีประสิทธิภาพและให้เกิดผลปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมต่อไป
ผลการศึกษาวิจัยพบว่า หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษมีปัญหาและอุปสรรค
ในการด าเนินการเพื่อพัฒนาก าลังพลส ารองนั้นเกิดขึ้นจาก ๒ ประเด็นที่ส าคัญ ประเด็นแรกก็คือ ระบบ
ก าลังส ารองและแนวทางการด าเนินการที่เกี่ยวข้องกับก าลังพลส ารอง ซึ่งมีรายละเอียดย่อย ได้แก่
การสรรหา, ห้วงระยะเวลา, ความเหมาะสม, คุณลักษณะหน่วยและสถานภาพก าลังพลส ารอง
ประกอบด้วย คุณวุฒิการศึกษา, อาชีพ, อายุ, ภูมิล าเนา, ซึ่งปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นเหล่านี้เอง
ถ้ามีการบริหารจัดการที่ดีทั้งหน่วยและส่วนที่เกี่ยวข้อง โดยน าหลักการและทฤษฎี ตลอดจน
แนวความคิดที่ก าหนดขึ้นมาบูรณาการและให้เกิดมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน จะท าให้การแก้ปัญหา
และอุปสรรคต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นสามารถแก้ไขได้ เป็นไปด้วยดี แต่จะต้องกระท าอย่างต่อเนื่องและ
ให้เป็นไปตามกรอบเวลาหรือแนวความคิดทีเกิดขึ้นอย่างสม่ าเสมอและเป็นรูปธรรมซึ่งการแก้ปัญหาและอุปสรรคนั้นจะต้องปลูกฝังและสร้างองค์ความรู้ตลอดจนเสริม
คุณลักษณะนักรบพิเศษให้กับก าลังพลส ารอง ตลอดจนทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องมีความเข้าใจและ
เห็นความส าคัญดังกล่าวเป็นอย่างดี จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยต่อก าลังพลส ารองทุกระดับ ตั้งแต่
ระดับบุคคลระดับหน่วยไปจนถึงระดับองค์การ ซึ่งการพัฒนาก าลังพลเป็นเรื่องที่ส าคัญที่สุด ฉะนั้น
การวิเคราะห์ และเสนอแนวทางของการวิจัยครั้งนี้ เพื่อเป็นแนวทางที่เกิดขึ้นตามวัตถุประสงค์
ที่ก าหนดไว้ โดยน ามาประมวลและจัดเป็นแนวทางการพัฒนาก าลังพลส ารองตามระบบเรียกพล
๑:๑:๑:๓
ขั้นตอนที่ ๑ ปูพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับรบพิเศษทั้งปวง
ขั้นตอนที่ ๒ เสริมสร้างให้เป็นนักรบพิเศษที่ดี ๕ ประการ
ขั้นตอนที่ ๓ เสริมสร้างก าลังพลส ารองให้มีความรู้ ความช านาญทางทหารตามต าแหน่งหน้าที่
ขั้นตอนที่ ๔ ปฏิบัติงานในหน่วยของตนตามที่ได้รับมอบ
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ควรจัดตั้งคณะกรรมการก ากับดูแลในกิจการก าลังพลส ารอง
และทุกหน่วยต้องเห็นความส าคัญของการพัฒนาโดยต้องวางแผนและตอบสนองพร้อมกับสอดรับกับ
แนวทางการพัฒนา และผู้บังคับบัญชาทุกระดับชั้นต้องเห็นความส าคัญในเรื่องนี้และมีความพร้อม
ในการพัฒนาไปในทิศทางเดียวกัน
ข้อเสนอแนะในการปฏิบัติ โดยการปฏิบัติแบบรวมการ เพื่อหล่อหลอมให้เป็นไป
ในทางเดียวกันกลมกลืนและเป็นกลุ่มหรือทิศทางเดียวกัน แล้วจึงท าการปฏิบัติแบบแยกการหรือ
กระจายความรู้ การปฏิบัติไปสู่บุคคลและหน่วยให้มากขึ้น
abstract:
Abstract
Title An empowerment of military reserve force unit at the Special Warfare
Command
Field Military
Name Col. Kriengsak Pattarapongsin Course NDC Class 62
The present study targeted the study of the empowerment of military reserve
force unit at Special Warfare Command following the current direction of The Royal Thai
Army in responsibility of building up national security for country defense. The
empowerment strategies include the renovation of the army organizations into smaller
sizes with high efficiency and development of human resources to have competency able
to perform responsible duties as larger units. Most of the time, military weapons, materials
and transporters should be in good function and modern. In addition, the system in a
process of selection and training military reserve force units should be reviewed and
improved to be better. The aim is to obtain a high capacity of reserve force units which
are ready for duties and capable to replace full-time permanent staffs in time of need.
Special Warfare Command army base is one of military units that should take actions in
response to a challenged policy targeting the improving reserve force units at Special
Warfare Command. The research methodology applied qualitative research approach by
collecting primary data obtained by personal interviewing. The primary participants who
provided the main data in this part were the commanders of Special Warfare Command.
Who were responsible for training of the military reserve force civilians. The other source
of primary data was the information obtained by group discussion comprising of 8-12
administrative military persons who were in charge of the administration process for military
reserve force. The secondary data was the information searched from relates documents,
military reports, research publications or official documents in this area. Both primary and
secondary data obtained were compiled and analyzed by descriptive analytical method
in which collected data were considered and summarized for a conclusion. The executive
summary would probably be a guideline or be a direction for Special Warfare Command
to empower its reserve force unit at its site. It will be proposed to the administrative sector
and to the high commanders for their further consideration and making decision on how
to enhance the efficiency and efficacy of the reserve force units markedly.
The study results revealed that Special Warfare Command had two main
obstacles in empowering the reserve force units. Basically, the issues involved the system of reserving and the processes involved reserving management. The latter included
processes of selection and training the reserves, the period time for reserving, and the
personality and quality of eligible reserves such as their study degrees, professional careers,
ages, mental and physical status and their living places. If good administration presented
and specific units are available to handle a reserving process efficiently, it would be
possible to empower the reserve force units. Classical principles and theories of
empowering should be integrated into the concept of the new policy. The collaboration
and food cooperation will facilitate the links among responsible units and will support for
resolving the relevant problems. Sustainability, continuation and the control of time
schedule are required for effective outcomes in empowering the reserve forces.
The empowering of army force is an important issue. Therefore, this study
which analyzed and proposed the strategies of empowering would be useful. The direction
of empowering focused on the process of calling and selection of the army reserves using
1:1:1:3 frame. It included four steps as follows.
Step 1: Provide all basic knowledge of or special military fight.
Step 2: Building up good characteristics of reserves in 5 aspects.
Step 3: Building up the military reserves force to have good military knowledge
background and essential skills based on their military individual duties.
Step 4: Performing on duties in the best aspects at the place assigned
Some recommendations proposed by the researcher.
The recommendation regarding the policy issue: The committee that was
nominated to follow up and to be in charge of military reserving and the component units of
military bases should recognize the importance of empowering the reserve forces. Planning for
empowering reserve forces is required and the plan should be in corresponding with the new
policy of developing and empowering reserves. The agreement and the support from the
administrative commanders are also very crucial. Their motivation for developing in the same
direction and getting ready to change for development made contribution to the success in
empowerment of reserve.
The recommendationregarding the practice issue: Bu conducting empowerment,
it should be started by pooling form in order to share and conduct in the same direction.
Separation form to work on its own then should be occurred subsequently. Working in
separation form to work on its own then should be occurred subsequently. Working in
separation of each unit will allow much more transferring knowledge and more practices that
individual reserve and military units will be obtained. The benefit is for the national security in
overall.