Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทตาม พ.ร.บ. การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ. ๒๕๖๒, (วปอ.8924)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายเกิดโชค เกษมวงศ์จิตร, (วปอ.8924)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2562
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการไกล่เกลี่ยขอ ้ พิพาท ตาม พ.ร.บ.การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ. 2562 ลักษณะวิชา การเมือง ผู้วิจัย นายเกิดโชค เกษมวงศจ ์ิตร หลกัสูตร วปอ. รุ่นที่62 การวิจยัในคร้ังน้ีมีวตัถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคของการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ของภาคประชาชน และศึกษาการพัฒนาการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของภาคประชาชน ตาม พ.ร.บ. การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ. 2562 โดยมีขอบเขตของการวิจัยโดยการศึกษาจากบทบาทภารกิจของ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม ที่ได้ด าเนินการส่งเสริมให้ประชาชนรวมตัวกัน จดั ต้งัเป็ นศูนย์ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท เพื่อด าเนินงานเกี่ยวกับการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ซ่ึงการวิจยัในคร้ังน้ี เป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีการศึกษาข้อมูลทุติยภูมิจากการศึกษาค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลจาก เอกสารที่เกี่ยวข้อง และข้อมูลสรุปผลการด าเนินงานของศูนย์ไกล่เกลี่ยระงับข้อพิพาทชุมชน กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ และศึกษาข้อมูลปฐมภูมิจากการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องกับการไกล่เกลี่ย ข้อพิพาทโดยภาคประชาชนในประเทศไทย จ านวน 3 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1. ผู้ที่ท าหน้าที่ไกล่เกลี่ย ข้อพิพาทที่ผ่านการฝึ กอบรมตามหลักสูตรที่คณะกรรมการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ (กพยช.) รับรอง กลุ่มที่ 2. ผู้ที่มีส่วนร่วมในการร่างพระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ. 2562 และ กลุ่มที่ 3. ประชาชนที่เข้าร่วมกระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท แล้วน าข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้มาสรุปผล และเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ตาม พ.ร.บ.การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ. 2562 จากการศึกษาวิจัย พบว่า ปัญหาและอุปสรรคของการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของภาค ประชาชน ตามพระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ. 2562 แบ่งได้เป็ น 5 ด้าน คือ 1. ความ พร้อมด้านโครงสร้างสถานที่ต้งัศูนยไ์กล่เกลี่ย 2. ความพร้อมด้านบุคลากรผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่ประจ า ศูนย์ไกล่เกลี่ย 3. ระบบบริหารจัดการศูนย์ไกล่เกลี่ย 4. การประชาสัมพันธ์ การสร้างการรับรู้และ 5. ความเชื่อมนั่ ของประชาชน และปัจจัยที่ส่งผลต่อความส าเร็จในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของภาค ประชาชน ตามพระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ. 2562แบ่งได้เป็ น 4 ด้าน คือ 1. ด้านตัว ผูท้ า หน้าที่ไกล่เกลี่ย 2. ด้านงบประมาณและสิ่งอา นวยความสะดวก 3. ด้านการประชาสัมพนั ธ์ 4. ด้านการบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ข จากการศึกษาวิจัยผู้วิจัยได้ให้ข้อเสนอแนะโดยควรด าเนินการเตรียมความพร้อม ด้านบุคลากรผู้ปฏิบัติหน้าที่ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท รวมถึงจดั ต้งัศูนย์ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทให้ครอบคลุม ทวั่ ท้งัประเทศควรด าเนินการประชาสัมพันธ์สร้างความรู้ความเขา้ใจแก่ประชาชน และจัดท าคู่มือ การปฏิบัติงานไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของภาคประชาชนตามพระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ .ศ . 2562 แล ะควรมี ก ารศึก ษ าความ คิดเห็ น ของป ระช าช น ต่อก ารไก ล่เก ลี่ ยข้อพิ พ าท ตามพระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ. 2562

abstract:

Abstract Title : Participation of public sector in reconciliation according to Dispute Resolution Act B.E. 2562 Field : Politics Name : Kerdchoke Kasemwongjit Course : NDC Class : 62 This research has the objective of studying problems and obstacles in the reconciliation process of public sector and studying development of dispute resolution of public sector according to Dispute Resolution Act in which it has the scope of the study in the mission of Rights and Liberties Protection Department (RLPD), Ministry of Justice. With RLPD’s supports, people should be able to organize the dispute resolution center for carrying on dispute resolution matters where this research is qualitative research studying secondary data from collection of related documents and the conclusion of overall operation of local dispute resolution centers, RLPD, and studying in primary research from interviewing persons related with dispute resolution in public sector in Thailand. The source comprises of 3 groups namely 1. Mediator who passes the curriculum that National Commission of Justice Administration Development (NCJAD) certifies 2. Participators in drafting Dispute Resolution Act B.E. 2562 and 3. People that participate in dispute resolution process, conclude the data and suggest the development of public sector participation in dispute resolution process according to Dispute Resolution Act B.E. 2562. According to the research, it has been suggested that the problems and obstacles of public sector according to Dispute Resolution Act B.E. 2562 can be divided into 5 fields 1. the readiness of dispute resolution center’s locations 2. the readiness of staffs working in dispute resolution centers 3. administration system of dispute resolution centers 4. public relations and building of public awareness and 5. people’s confidentiality and factors that effect the success of public sector reconciliation according to Dispute Resolution Act B.E. 2562 which can be divided into 4 aspects namely 1. the mediator’s self 2. budgets and facilities 3. public relations 4. Cooperation with related agenciesง From the research, the researcher suggests that the related sectors should well prepare the mediation staffs including establishing dispute resolution centers nation-wide and publicize to people for public perception. Also, it should create a working manual for public sector reconciliation according to Dispute Resolution Act B.E. 2562 and should conduct a people survey of dispute resolution according to Dispute Resolution Act B.E. 2562