เรื่อง: การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินเพื่อรองรับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี, (วปอ.8922)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางกุลิสราพ์ บุญทับ, (วปอ.8922)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการของส านักงานการตรวจเงิน
แผ่นดิน เพื่อรองรับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
ลักษณะวิชา การเมือง
ผู้วิจัย นางกุลิสราพ์ บุญทับ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 62
เอกสารวิจัยเรื่องการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการของส านักงานการตรวจเงิน
แผ่นดินเพื่อรองรับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีมีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อวิเคราะห์ปัญหา อุปสรรค และสภาพ
ปัญหาเกี่ยวข้องกับการด าเนินงานของ ส านักงานการตรวจเงินแผ่นดิน และ (2) เพื่อพัฒนา
ประสิทธิภาพการบริหารจัดการของส านักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ด้านการตรวจสอบ และด้านการ
ก ากับควบคุม เพื่อช่วยสนับสนุนให้การน านโยบายไปปฏิบัติของหน่วยงานภาครัฐเกิดประสิทธิภาพ
และสนับสนุนการบรรลุวิสัยทัศน์ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีโดยอาศัยวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ เน้น
การศึกษาจากเอกสาร ร่วมกับการอาศัยการศึกษาเชิงส ารวจ ผ่านการพึ่งพาวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก
จากกลุ่มตัวอย่างโดยตรงเป็นส าคัญ โดยผู้ให้ข้อมูลส าคัญ ประกอบไปด้วยผู้บริหารและบุคลากร
ภายในองค์การ จ านวน 5 คน ภายนอกองค์การ จ านวน 13 คน และพึ่งพาแบบส ารวจออนไลน์
เกี่ยวกับทัศนะและความคิดเห็นจากภาคประชาชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการปฏิบัติงานของ
สตง. ในปัจจุบัน และความคาดหวังในอนาคต จ านวน 131 คน ผลการวิจัยสะท้อนให้เห็นว่ากลุ่ม
ตัวอย่างทั้ง 3 กลุ่มมีความคิดเห็นและมีทัศนะสอดคล้องเป็นไปในทิศทางเดียวกันว่านอกเหนือจากการ
ท าหน้าที่เป็นผู้ตรวจสอบและจัดท ารายงานที่มีคุณภาพเกี่ยวกับการเงินการคลังและการใช้จ่ายเงิน
แผ่นดินอย่างคุ้มค่าของหน่วยงานรัฐ เพื่อเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ด าเนินการต่อไปแล้ว สตง.
ควรด าเนินการพัฒนาผลผลิตอื่น ๆ เพิ่มเติมอีก เพื่อสนับสนุนให้การปฏิบัติราชการของ สตง. มี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และเกิดผลสัมฤทธิ์ในการช่วยป้องกันปัญหาทุจริตคอรัปชั่นในหน่วยงาน
ภาครัฐ ซึ่งจากการวิเคราะห์ผลการศึกษาแล้ว ผู้วิจัยจึงเสนอแนะว่า สตง. ควร 1) การเพิ่มบทบาท
ด้านการให้ค าปรึกษาในฐานะ “ผู้ให้ค าปรึกษา (Advisory role)” แก่หน่วยงานรับตรวจและ
หน่วยงานรัฐอื่น ในลักษณะของ “พี่เลี้ยง” และมองตัวเองเป็น Third party โดยประกอบไปด้วย 3
แนวทางด้วยกัน คือ การยกระดับบุคลากรภายใน สตง. ด้วยการฝึกอบรมและปรับทัศนะคติโดย สตง.
เอง หรือจัดจ้างผู้เชี่ยวชาญ การจัดตั้งคลินิกที่ปรึกษา (Advisory clinic) ที่สามารถเข้าถึงได้ง่าย
รวดเร็ว และมีความพร้อมและศักยภาพในการให้ข้อมูลได้อย่างถูกต้อง และการยกระดับปรับบทบาท
สตง. ให้ด าเนินการในลักษณะของ Post-Audit ร่วมกับ Pre-Audit 2) การเพิ่มบทบาทด้านการให้
ความรู้ เผยแพร่งานวิชาการ และการสร้างเครือข่าย โดยประกอบไปด้วย การจัดตั้งศูนย์อบรม
บุคลากรด้านการตรวจสอบและวินัยการเงินการคลัง การสร้างความร่วมมือและสร้างเครือข่ายต้าน
การทุจริตในทุกระดับ การพัฒนาเครื่องมือและระบบ และการพัฒนาผลงานทางด้านวิชาการ
abstract:
Abstract
Title The development of management efficiency for the State Audit
Office of the Kingdom of Thailand to support the 20-year National
Strategy (2018-2037)
Field Politics
Name Mrs.Kulisara Boontup Course NDC Class 62
The research on the development of management efficiency of the State Audit
Office of the Kingdom of Thailand to support the 20-year National Strategy has the objectives
(1) to analyze problems, obstacles and and problems related to the operation of the State
Audit Office and (2) to develop management efficiency of the State Audit Office in auditing and
supervising the public entities to have effective implementation of the policies as well as
supporting the achievement of the 20-year National Strategy. The research was conducted by
using qualitative research methods, focusing on document and surveys and relying significantly
on the in-depth interviews from the sample. The key informants consisted of 5 executives and
officials from the organization and 13 from outside the organization, and relied on the use of
online surveys to gain public views from 131 persons and stakeholders towards the current
operations of the State Audit Office and their expectations.The research results show that all 3
groups have the sameopinions and views that apart from acting auditors and preparing quality
reports on public fiscal and financial management to present to the related agencies for
further implementation, the State Audit Office should continue to develop other products to
support more efficient operation of the State Audit Office and to prevent corruption in
government agencies. From the analysis of the research results, the researcher therefore
suggested that the State Audit Office should 1) increase their” Advisory role” towards the
audited agency and other government agencies in the from of“mentors” and see themselves
as a Third Party, consisting of 3 approaches: enhancing State Audit Office’s personnel capacity
by providing them with training and attitude adjustment by the Office itself or hired experts,
establishing Advisory Clinic that is accessible, Quick, effective and ready to provide accurate
information as well as upgrading the role of State Audit Office to perform Post-Audit in
connection with Pre-Audit.2) Increase the role of educating, publishing academic papers and
creating networks, consisting of establishing a center for personnel training in auditing and fiscal
and financial disciplines, building partnerships and networks against corruption at all levels as
well as developing tools, systems and academic performance.