Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ประเทศไทยกับการบริหารจัดการความมั่นคงเรื่องน้ำในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง, (วปอ.8915)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติยุทธศาสตร์/Strategy
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พล.ต. กิตติ คงสมบัติ, (วปอ.8915)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2562
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง ประเทศไทยกับการบริหารจัดการความมั่นคงเรื่องน ้าในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น ้าโขง ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์ ผู้วิจัย พลตรี กิตติ คงสมบัติ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๒ งานวิจัยฉบับนี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของปัญหาความมั่นคงเรื่องน ้าใน อนุภูมิภาคลุ ่มแม่น ้าโขง (GMS) อันอาจจะเป็นสาเหตุหนึ่งที่อาจจะน้าไปสู่ความขัดแย้งในอนาคต โดยการศึกษาบทบาท ปฏิสัมพันธ์ และความร่วมมือ ระหว่างประเทศ และเพื่อเสนอแนวทางการบริหาร จัดการที่เหมาะสมต่อการแก้ปัญหาด้านความมั่นคงเรื่องน ้าในอนุภูมิภาคลุ่มน ้าโขงจากมุมมองของไทย โดยการศึกษาวิจัยนี ใช้การวิเคราะห์เนื อหา การวิเคราะห์เปรียบเทียบ และสังเคราะห์ร่วมกับแนวคิด ทฤษฎีเรื่องความมั่นคงทางการเมืองเรื่องน ้าที่ซับซ้อน (The Hydropolitical Security Complex Theory) รวมทั งการบริหารจัดการน ้าตามแนวพระราชด้าริ แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นพื นฐาน การวิเคราะห์ในบริบทสภาวการณ์ที่ซับซ้อน ผลการวิจัยพบว่า จากมุมมองของประเทศไทยมีความเหมาะสมในการสนับสนุนแนวคิด ในการประนีประนอม (Compromise Principle) ซึ่งให้คุณค่าต่อความมีเหตุผล ความเท่าเทียมกัน ในการใช้ประโยชน์ และการมีส่วนร่วมของประเทศริมน ้าทั งหมดในภูมิภาค ด้วยการร่วมมืออย่างจริงจัง และใช้ความร่วมมือระดับภูมิภาคเพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาอย่างบูรณาการ และใช้แนวทางการบริหาร จัดการน ้าตามแนวทางพระราชด้าริและหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงดังนี ๑. การบริหารน ้าอย่างมีเหตุผล คือการใช้น ้าตามความจ้าเป็น โดยแบ่งสันปันส่วนน ้า ให้กันอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม สร้างทรัพยากรน ้าให้เพียงพอด้วยการสร้างแหล่งต้นน ้า การกักเก็บน ้า การมีระบบส่งน ้าให้ทั่วถึง รวมถึงการน้าน ้าหมุนเวียนกลับมาใช้ก่อนปล่อยกลับคืนสู่ธรรมชาติ ๒. การบริหารน ้าอย่างพอประมาณ คือ ใช้น ้าบนพื นฐานความพอเหมาะกับความต้องการ ความจ้าเป็นหรือพอดีกับผู้ใช้น ้าทุกฝ่าย ค้านึงถึงผลกระทบต่อพื นที่ทั งลุ่มน ้าที่เกี่ยวข้อง ๓. การบริหารจัดการน ้าอย่างมีภูมิคุ้มกัน คือ วางแผนการใช้น ้าอย่างเป็นระบบแบบรวมการ ให้แต่ละฝ่ายได้มีส่วนร่วมในการปฏิบัติ รักษา ใช้น ้า หมุนเวียนน ้า อย่างทั่วถึงกัน ในลักษณะของการเป็นเจ้าของ ทรัพยากรน ้าร่วมกัน เกิดความรักหวงแหนในทรัพยากร ๔. การบริหารจัดการน ้าด้วยความรู้ คือ การใช้เทคโนโลยี หลักการและประสบการณ์ เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างเกิดประโยชน์สูงสุด ๕. การบริหารจัดการน ้าด้วยคุณธรรม คือ การใช้น ้าโดยรู้คุณค่า แบ่งปันอย่างทั่วถึง เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม หมุนเวียนวงจรน ้าอย่างเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม ลดการเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน แนวทางการบริหารจัดการทั ง ๕ ข้อนั น จะต้องผลักดันให้การด้าเนินการอย่างต่อเนื่อง และยั่งยืน คือ ทุกฝ่ายต้องมีความร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดและมีความเพียรพยายาม ความอดทนต่อ อุปสรรคต่าง ๆ ตามหลักการทรงงาน “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” เป็นกรอบใหญ่ของการบริหารจัดการ น ้าของประเทศไทย เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายในการใช้น ้าอย่างยั่งยืน สร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง โดยมี แนวทางบริหารจัดการน ้าตามแนวพระราชด้าริด้วยการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางข แนวทางการบริหารจัดการน ้าของไทย โดยยึดถือหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy Philosophy) มีความเหมาะสม และสามารถน้าไปประยุกต์ใช้กับการบริหาร จัดการลุ่มน ้าขนาดใหญ่ ระบบลุ่มน ้าระหว่างประเทศ (International Riverine System) เช่น อนุภูมิภาค ลุ่มแม่น ้าโขง (Greater Mekong Subtegion : GMS) ได้ด้วยเช่นกัน โดยผ่านการสนับสนุนด้วยกลไก ระบอบสถาบันของภูมิภาค (Institue Regime) ระหว่างประเทศไทย เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการบริหาร ลุ่มน ้ากว้างเชิงบูรณาการ (Basin Wide Water Integration Management)

abstract:

ABSTRACT Title Thailand Water Security Management in Greater Mekong Sub-region Economic Cooperation Subject Strategic Researcher Major General Kitti Kongsombat Course NDC Class 62 Purposes of the study were to provide an effect of security problem regarding water in Greater Mekong Sub-region Economic Cooperation (GMS) that might cause some conflicts in the future. Role, interaction, and cooperation were determined: to distribute suitable management for solving water in greater Mekong sub-region economic cooperation regarding Thai perspective. Content analysis, comparative analysis, and synthesis including hydro political security complex theory also water management regarding royal thought and sufficiency economy philosophy were applied to analyze most complex circumstances. Results were found that Thai perspective was suitable to encourage the compromise principle that providing value to reasoning, equality in use, and participation of all riverside countries in region according to a significant cooperation, cooperation in region for integration solving, and water management regarding sufficiency economy as following: 1 . Water management with reasonable was using water as necessary, providing water with thorough and equitable, distributing sufficient water resources including upstream source, water retention throughout water delivery system, and recycle water before releasing to nature. 2. Water management with moderate was using water that suitable for necessary, essential or relevant to all users considering an effect to river basin. 3. Water management with immunity was planning water using system with participation from every departments including execution, supervising, using water, circulating water thoroughly encouraging to be property altogether with resource appreciation. 4. Water management with knowledge was using principle in technology and experiences for extremely advantage. 5. Water management with merit was using water with value appreciation, thoroughly dividing, environmentally companionship, and circulating water with public advantage meanwhile releasing selfishness.ง All 5 management models must be encouraged to operate continuallyand durable. Intimately cooperation from every departments, enduring, patient with every obstacles according to “understanding, connecting, development” that was a significant principle of water management in Thailand for enduring achievement, accurate understanding with the royal thought and sufficiency economy principle. Thai water management according to sufficiency economy philosophy was appropriated and applied to large watershed management and international riverine system such as Greater Mekong Sub-region (GMS). Moreover, institute regime procedures among Thai organizations were encouraged to manage basin wide water integration.