Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวความคิดในการบริหารทรัพยากรบุคคลของกองทัพบกศึกษาเฉพาะกรณี ข้าราชการพลเรือนกลาโหม, (วปอ.8912)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พล.ต. กำธร บุญทอง, (วปอ.8912)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2562
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวความคิดในการบริหารทรัพยากรบุคคลของกองทัพบก ศึกษาเฉพาะกรณี ข้าราชการพลเรือนกลาโหม ลักษณะวิชา การทหาร ผู้วิจัย พลตรี ก าธร บุญทอง หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๒ การวิจัยในครั้งนี้ เพื่อศึกษาวิเคราะห์กฎหมาย ระเบียบ หลักเกณฑ์ และแนวทาง การด าเนินการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการน าข้าราชการพลเรือนกลาโหมและเพื่อศึกษาวิเคราะห์ แนวทางการบริหารทรัพยากรบุคคลต่อก าลังพลประเภทอื่นที่มีลักษณะการด าเนินการใกล้เคียงกัน ได้แก่ อาสาสมัครทหารพราน และพนักงานราชการ กับศึกษาวิเคราะห์และก าหนดแนวความคิดใน การปฏิบัติในการบริหารทรัพยากรบุคคลต่อข้าราชการพลเรือนกลาโหมของกองทัพบก รวมถึง ให้ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการน าข้าราชการพลเรือนกลาโหมของกองทัพบกในภาพรวม โดยขอบเขตการวิจัย คือ ศึกษาประเด็นปัญหาที่ต้องการวิจัยในด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ตามกรอบงานด้านก าลังพลของกองทัพบก ๕ ด้าน ทั้งกิจเฉพาะ กิจแฝง และแนวความคิดในการ ปฏิบัติในด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลต่อข้าราชการพลเรือนกลาโหมของกองทัพบก กับบทเรียนที่ ได้รับในด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลต่อก าลังพลประเภทอื่นของกองทัพบก ที่เป็นประโยชน์ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้องและท าการสัมภาษณ์เชิงลึก ผลการวิจัยสรุปได้ว่า ข้าราชการพลเรือนกลาโหม มีกฎหมายระดับพระราชบัญญัติ กฎกระทรวง และ ระเบียบกระทรวงกลาโหมรองรับอย่างชัดเจน สามารถขยายการมีส่วนร่วมของข้าราชการพลเรือน กลาโหมในภารกิจด้านความมั่นคงของประเทศ ส่วนแนวทางการบริหารทรัพยากรบุคคลต่อก าลังพล ประเภทอื่นที่มีลักษณะการด าเนินการใกล้เคียงกันนั้น แนวความคิดในการปฏิบัติในการบริหารทรัพยากร บุคคลนั้น ควรมีลักษณะใกล้เคียงกับข้าราชการทหารและอาสาสมัครทหารพรานให้มากที่สุด โดยยึดถือ ตามกรอบงานด้านก าลังพล ๕ ด้านเป็นบรรทัดฐาน ทั้งนี้ ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะดังนี้คือ เชิงนโยบาย กองทัพบกต้องมีความพร้อมสร้างแรงจูงใจและทัศนคติที่เหมาะสมให้เกิดขึ้นกับก าลังพลและภาคส่วน อื่นๆ ส่วนเชิงปฏิบัติ กองทัพบกควรมีการบริหารจัดการ และด าเนินการด้านสิทธิประโยชน์ต่างๆ อย่าง เหมาะสม ตลอดจนท าให้สามารถปฏิบัติร่วมกับก าลังพลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส าหรับการวิจัยครั้ง ต่อไปควรพิจารณาในรายละเอียดเกี่ยวกับการสร้างแรงจูงใจ และแนวทางความก้าวหน้าในอาชีพของ ข้าราชการพลเรือนกลาโหม

abstract:

Abstract Title The Royal Thai Army Human Resources Management Studied on the Case of Civilian Officials in the Department of Defense Field Military Name Major General Gamtorn Boonthong Course NDC Class 62 The purpose of this research was to study and analyze laws, rules, ordersand working methods related to a new type of personnel in the Ministry of Defense called “civilian officials in the department of defense”. The research compared this new type of personnel to similar existing types of personnel such as rangers and government employees. In addition, personnel management processes concerning this type of personnel were studied and introduced. The scope of this research relied on five processes of the Royal Thai Army personnel management cycle. Main tasks, implied tasks and concepts of how to complete the tasks on each of the processes were being considered. The lessons learned from similar types of personnel were also being determined. The populationin this research was a group of personnel involved in the subjects of having “civilian officials in the department of defense” in the Royal Thai Army. The purposivein-depth interviews were made to officers from different level; policy-making level, policy-to-action and acting/proceeding level. The results showed that all acts, ministerial regulationsand orders concerning “civilian officials in the department of defense.” were clearly and adequately created. In term of personnel management processes, this type of personnel should be treated similar to regular soldiers and rangers under the norm of the Royal Thai Army personnel management cycle. Some suggestions were made in this research in different levels. In the policy making level, motivation and good attitude of having “civilian officials in the department of defense” should be built in the Royal Thai Army. Inthe operational level, the personnel management processes, rights and welfares for this type of personnel should be clearly made. For the future study, this research suggested that the studies of persuasions for being “civilian officials in the department of defense” and their career paths of were preferred.