Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การจัดสรรงบประมาณ เพื่อการปฏิบัติงานของสถานีตำรวจ กรณีศึกษากองบัญชาการตำรวจนครบาล

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตำรวจตรี หญิง ศิริจันทร์ จันทร์แสงสว่าง
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื อง การจัดสรรงบประมาณ เพื อการปฏิบัติงานของสถานีตํารวจ กรณีศึกษา กองบัญชาการตํารวจนครบาล ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผ้วิจัย พลตํารวจตรีหญิง ศิริจันทร์ จันทร์แสงสว่าง หลั ู กสูตร วปม. ร่นที ๗ ุ การศึกษาวิจัยเรื องนี มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาขันตอนและกระบวนการจัดสรร งบประมาณทีใช้ในการป้ องกนปราบปรามอาชญากรรมของกองบัญชาการตํารวจนครบาล เพือ ั ศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างงบประมาณทีกองบังคับการตํารวจนครบาล ๑ - ๙ ได้รับ จัดสรรกบสถิติคดีอาชญากรรมทีเก ั ิดขึนในพืนที เพือเสนอแนะแนวทาง และเป็ นแนวคิดในการ จัดสรรงบประมาณของกองบัญชาการตํารวจนครบาลให้กับ กองบังคับการตํารวจนครบาล ๑ - ๙ สําหรับการป้ องกนปราบปรามอาชญากรรม ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงส ั ุด โดยมี ขอบเขตการศึกษาวิจัยครังนีมุ่งศึกษาถึง งบประมาณรายจ่ายของกองบัญชาการตํารวจนครบาลที จัดสรรให้กับ กองบังคับการตํารวจนครบาล ๑ - ๙ ทีมีหน้าทีในการป้องกันปราบปราม อาชญากรรม เฉพาะ ๓ ผลผลิตหลัก และสถิติคดีอาญา ๓ กลุ่ม ทีเกิดขึนในเขตกรุงเทพมหานคร ซึงขอบเขตการศึกษาอยูในช ่ ่วงปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔ – ๒๕๕๖ วิธีการศึกษา ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาค้นคว้าเก็บรวบรวมข้อมูลจาก เอกสาร ตําราวิชาการ การรวบรวมเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจําปี ของสํานักงานตํารวจ แห่งชาติ และกองบัญชาการตํารวจนครบาล พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ข้อมูลทีเกียวข้องกบั แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยทีเกียวข้อง รวมถึงการวิจัยภาคสนาม โดยวิธีการสัมภาษณ์และเก็บ ข้อมูลจากข้าราชการตํารวจ สังกดกองบัญชาการตํารวจนครบาล และกองบังคับการตํารวจนครบา ั ล ๑ - ๙ ซึงเป็ นประชากรกลุ่มตัวอยาง จํานวน ๑๕ คน ตามทีได้ก ่ าหนดประเด็นไว้ ํ ผลการศึกษาวิจัย พบว่า การจัดสรรงบประมาณของ กองบัญชาการตํารวจนครบาล ให้กบ กองบังคับการตํารวจนครบาล ๑ - ๙ มิได้ใช้ในภารก ั ิจป้ องกนปราบปรามอาชญากรรมเพียง ั อยางเดียว แต ่ ่เป็ นงบประมาณทีจัดสรรให้สําหรับทุกกิจกรรมทีเกียวข้องกบภารก ั ิจของกองบังคับการ รวมถึงกลุ่มงานอํานวยการและสนับสนุน กลุ่มงานเทคนิค ดังนันการนําสถิติคดีอาญามา เปรียบเทียบกบการจัดสรรงบประมาณของกองบังคับการ แต ั ่เพียงอย่างเดียว คงไม่เพียงพอทีจะข เปรียบเทียบให้ตรงกบข้อเท็จจริงได้ แสดงถึงการจัดสรรงบประมาณ ไม ั ่มีความสัมพันธ์กบสถิติ ั คดีอาญา และยังพบว่า ยังมีปัจจัยอืนทีใช้พิจารณาจัดสรรงบประมาณ เช่น ปัจจัยเขตพืนที รับผิดชอบ จํานวนประชากรในพืนที ข้อมูลท้องถิน ภารกิจ และการประเมินผลการปฏิบัติงานตาม ตัวชีวัด การเพิมประสิทธิภาพงานป้ องกนปราบปรามอาชญากรรม เพือให้สัมฤทธิ ั Cผลตาม แนวทางและเป้ าหมายยุทธศาสตร์ของสํานักงานตํารวจแห่งชาติ และนโยบายผู้บัญชาการตํารวจ แห่งชาติ ทรัพยากรทางการบริหารการเงิน นับได้ว่าเป็ นปัจจัยสําคัญ หากกองบังคับการตํารวจ นครบาล D - E ได้รับการจัดสรรงบประมาณมาก จะสามารถนําไปใช้ในการบริหารหรือพัฒนา บุคลากร และพัฒนาระบบงานในหน้าที อันจะก่อให้เกิดประโยชน์อยางยิ ่ ง หากงบประมาณทีได้รับ จัดสรรน้อย ได้ไม่ตรงตามจํานวนทีขอรับการสนับสนุน หรือ ไม่เพียงพอต่อภารกิจและสถานการณ์ ทําให้ผู้บริหารหน่วยต้องปรับแผนการใช้งบประมาณให้เกิดประสิทธิภาพ หรือ การขอสนับสนุน จากภาคเอกชน ชุมชน และท้องถิน เพือให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการป้ องกนอาชญากรรม ั ดังนัน การป้ องกันปราบปรามอาชญากรรมทีมีประสิ ทธิภาพ ย่อมเกิดจากบุคลากรทีมีความรู้ ความสามารถ ระบบงานทีมีประสิ ทธิภาพ ระบบงบประมาณ อุปการณ์ เครื องมือ เครื องใช้ ทีเพียงพอและทันสมัย จึงเป็ นส่วนสําคัญทีทําให้หน้าทีหลักของ กองบัญชาการตํารวจนครบาล ในการป้ องกันปราบปรามอาชญากรรมบรรลุเป้ าหมาย อันได้แก่ การลดความหวาดกลัวต่อ อาชญากรรมของประชาชน การดําเนินชีวิตของคนกรุงเทพฯ เป็ นไปอย่างราบรืน และเกิดความ สงบสุข ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน และในทางตรงกันข้าม หากขาดปัจจัยด้านการ บริหารงานดังกล่าวแล้ว ก็จะเป็ นอุปสรรคอยางยิ ่ งในการป้ องกนปราบปรามอาชญากรรมให้บรรลุ ั เป้ าหมายทีต้องการ.

abstract:

ABSTRACT Title Budget allocation for Performance in the Police Station : A Case Study of Metropolitan Police Bureau Field Economics Name Pol.Maj.Gen Sirichun Chunsangsawang Course NDC (SPP) Class 7 This research had the objective to study a method and process for budget allocation process in the Crime Suppression of Metropolitan Police Bureau in order to analyze the relationship between the budget of Metropolitan Police Division 1 - 9 and a statistic of crime in the area for stipulating concepts and guidelines to increase an efficiency in budget allocation by Metropolitan Police Bureau for crime prevention of Division 1 - 9. The study was conducted in the 2011 - 2013 fiscal years, especially 3 major outputs and 3 groups of statistic of crime in Bangkok. This study was taken by the qualitative research method to study, collecting data from academic document, annual budget act, annual budget documents of the Royal Thai Police and Metropolitan Police Bureau , royal decree, ministerial regulations, and other information that was related in concept and research study including field research. Data were collected by interviewing the group of 15 police officials in Metropolitan Police Bureau and Division 1 - 9 as appointed. This research found that the budget allocation was not only for crime prevention and for all activities under the responsibilities of division included the administrative and supporting section, and technical section. Therefore, the statistic of crime could not able to compare with the division’s budgeting for comparison of matter of fact. These were shown that budget allocation was not relation to statistic of crime. Moreover, there were other factors, such as responsible areas, population, local information, task and performance appraisal system. 2 The increasing of performance efficiency in crime suppression is the major factor for achievement in accordance with scheme and strategic goals of the Royal Thai Police, the policy of Commissioner General and financial resources. The increase in budget allocation will be great advantage for organization management or human resources development and work development. In fact that a limited and inadequate budget allocation to cover all activities; crime investigating and preventing, that the division will have to undertaken to appropriately manage in accordance with all tasks and situations or to asking for the subsidy from private sector, community and local organizations for public participation in crime prevention. Thus it can say that it would be great if the officials enable to provide for sufficiently support in budget and manpower, tools and materials for highly efficient performance in an investigation and crime suppression. In other words, if it will not to assist to provide for performance management, therefore it would not be enable to achieve objectives’ performance as previous mentioned.