เรื่อง: แนวทางการจัดการภัยพิบัติของกองทัพไทย เพื่อสนับสนุนการเป็นประชาคมการเมือง และความมั่งคงอาเซียน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี วิทยา วชิรกุล
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื
อง แนวทางการจัดการภัยพิบัติของกองทัพไทย เพือสนับสนุน
การเป็ นประชาคมการเมือง และความมันคงอาเซียน
ลักษณะวิชา การทหาร
ผ้วิจัย ู พล.ต.วิทยา วชิรกุล หลักสูตร วปม. ร่นที
ุ ๗
อาเซียนเป็ นองค์กรระหว่างประเทศ ทีก่อตั*งขึ*นในนามสมาคมประชาชาติแห่งเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซียน (ASEAN) เมือ พ.ศ. ๒๕๑๐ มีสมาชิกจํานวน ๑๐ ประเทศ ได้แก่
อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ สิงคโปร์ บรูไน เวียดนาม ลาว พม่า กมพูชา และไทย ในปี พ.ศ. ั
๒๕๔๖ ผู้นําอาเซียนได้เห็นพ้องกนทีจะจัดตั ั *งประชาคมอาเซียน ประกอบด้วยสามเสาหลัก ได้แก่
ประชาคมการเมืองและความมันคงอาเซียน (APSC) ประชาคมเศรษฐก ิจอาเซียน (AEC) และ
ประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน (ASCC) ในปี ๒๕๕๘ ทั*งนี*การกาวสู ้ ่ประชาคมอาเซียนดังกล่าว
ยังคงจะมีปัญหาหลายเรือง ดังนั*นในแผนงานประชาคมการเมืองและความมันคงอาเซียน (APSC)
จึงควรปรับ Blueprint ให้มีการกาหนดนโยบายร ํ ่วม การรับรู้ถึงภัยคุกคามร่วม และมีอัตลักษณ์ร่วม
เป็ นต้น สําหรับความร่วมมือด้านการจัดการภัยพิบัติร่วมนั*น ควรกาหนดนโยบายให้กองทัพอาเซียน ํ
ซึงเป็ นหน่วยงานภาครัฐทีมีศักยภาพในด้านกาลังพลและยุทโธปกรณ์ เข้ามาเป็ นกลไกในการจัดการ ํ
ภัยพิบัติของอาเซียน
ผลการวิจัยพบวา กองทัพไทยถือเป็ นหน ่ ่วยงานทีมีความพร้อมในการจัดการภัยพิบัติ
รวมทั*งมีขีดความสามารถในการเป็ นกลไกของอาเซียนตามกรอบแผนงาน AADMER ประกอบด้วย
๔ ยุทธศาสตร์หลัก และ ๕ องค์ประกอบพื*นฐาน ซึงประกอบด้วย การบูรณาการนโยบายทีเกียวข้อง
เพือเสริมสร้างความร่วมมือกบประเทศสมาชิกอาเซียน โดยในภาพรวมของประเทศไทย ควรมอบ ั
ความรับผิดชอบหลักให้กบหน ั ่วยงานภาครัฐในการให้ความช่วยเหลือ และการสนับสนุน กระทรวง
กลาโหมและกองทัพไทย เน้นเฉพาะการจัดการภัยพิบัติและให้ความช่วยเหลือภายในประเทศ
จึงควรมอบหน่วยงานหลักในด้านการจัดการภัยพิบัติต่อประเทศอาเซียน เพือความพร้อม ในการพัฒนา
กาลังพลและอุปกรณ์ต ํ ่างๆ ให้มีประสิทธิภาพ ในส่วนหลักการดําเนินการ นั*น จะต้องนําความตกลง
อาเซียนวาด้วยการจัดการภัยพิบัติและการตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉิน ่ (AADMER) มาเป็ นกรอบแนวทาง
ในการจัดการภัยพิบัติ โดยการประสานกบศูนย์ประสานงานการให้ความช ั ่วยเหลือด้านมนุษยธรรม
ของอาเซียน (AHA Center) เพือดําเนินการทั*งในฐานะทีเป็ นประเทศผู้ประสบภัยพิบัติ และในฐานะ
ทีเป็ นประเทศทีให้การสนับสนุน รวมทั*งการนําระบบเตรียมพร้อมเพือบรรเทาภัยพิบัติและตอบโต้ข
สถานการณ์ฉุกเฉินของอาเซียน ได้แก่ การจัดทําระบบเตรียมความพร้อม และคู่มือ “มาตรฐานวิธี
ปฏิบัติเพือเตรียมความพร้อมและประสานงานการปฏิบัติร่วมกนของอาเซียนในการบรรเทาภัยพิบัติ ั
และตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉิน เพือให้กองทัพไทยทราบขั*นตอนในการตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉิน
ว่าจะต้องทําอะไรก่อนและหลังภัยพิบัติ สําหรับวิธีการดําเนินการในกรณีประเทศไทยเป็ นผู้ขอรับ
ความช่วยเหลือ โดยศูนย์บรรเทาสาธารณภัยในทุกระดับหน่วยทีสอดคล้องกบระดับของความรุนแรง ั
และพื*นทีประสบภัยต่างๆ โดยกองทัพไทยเป็ นหน่วยงานสนับสนุนตามแผนการป้ องกนและบรรเทา ั
สาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๓ – ๒๕๕๗ ในยุทธศาสตร์ ๔ ด้าน คือ การป้ องกนและลดผลกระทบ ั
การเตรียมความพร้อม การบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉินในสถานการณ์ภัยพิบัติขนาดใหญ่ ทีต้องร้อง
ขอความช่วยเหลือจากมิตรประเทศ AHA Centre หรือองค์การระหว่างประเทศ ซึ งกองทัพไทย
จะให้ ศบภ.ทท. ทําหน้าทีเป็ นศูนย์ปฏิบัติการร่วมระหวางพลเรือนก ่ บทหาร (CMOC) และการจัดการ ั
หลังเกิดภัย สําหรับการจัดการภัยพิบัติของกองทัพไทยในกรณีประเทศไทยเป็ นผู้ให้ความช่วยเหลือ
โดย ศบภ.ทท. เป็ นหน่วยประสานหลักทางทหารร่วมกบหน ั ่วยประสานงานหลักแห่งชาติ คือ ปภ.
โดยการแจ้งการให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศสมาชิกโดยตรงหรื อผ่าน AHA Centre จากนั*น
ผู้ประสานงานหลักแห่งชาติของประเทศผู้ขอรับความช่วยเหลือรับทราบหรือตอบรับโดยการให้
ความช่วยเหลือทันที หรือภายใน ๒๔ ชัวโมง หรือทบทวนการให้ความช่วยเหลือได้ หรือไม่ได้
ทั*งนี* ในการให้ความช่วยเหลือของประเทศไทยและกองทัพไทย นั*น ประเทศผู้ประสบภัยพิบัติและ
ประเทศให้ความช่วยเหลือจะร่วมกนประเมินความต้องการความช ั ่วยเหลือให้ชัดเจนรวมถึงความ
ร่วมมือต่างๆ เช่น การปฏิบัติการ การส่งกาลังบํารุ ง เพือให้เก ํ ิดความมันใจว ่าทรัพยากรทีจัดส่ง
ไปช่วยเหลือนั*น มีประสิทธิภาพสูงสุด
ข้อเสนอแนะเป็ นการกาหนดนโยบายเฉพาะของกองทัพไทยในการจัดการภัยพิบัติเพือ ํ
สนับสนุนประชาคมการเมืองและความมันคงอาเซียน การปรับปรุงบทบาทและหน้าทีของ ศบภ.ทท.
เพือรองรับนโยบายเฉพาะของกองทัพไทยในการจัดการภัยพิบัติดังกล่าว รวมทั*งการพัฒนา
ขีดความสามารถและความพร้อมในด้านกาลังพลและยุทโธปกรณ์ของกองทัพไทย เพือให้การช ํ ่วยเหลือ
ผู้ประสบภัยพิบัติได้อยางทันท ่ ่วงทีและมีประสิทธิภาพ ตาม พ.ร.บ.ป้ องกนและบรรเทาสาธารณภัย ั
พ.ศ.๒๕๕๐ รวมทั*งการให้ความช่วยเหลือกบประเทศสมาชิกอาเซียนอีกด้วย ั
abstract:
ABSTRACT
Title The Guidelines for the Disaster Management of the Royal Thai Armed
Forces for supporting the ASEAN Political - Security Community
Field Military
Name Major General Wittaya Wachilakul Course NDC (SPP) Class 7
ASEAN is a major international organization in the world. Founded as the
Association of Southeast Asian Nations, or known as the ASEAN on 1967, there were 10
countries including Indonesia, Malaysia, Philippines, Singapore, Brunei Darussalam, Vietnam,
Laos, Myanmar, Cambodia and Thailand. By the year 2003 the leaders of ASEAN agreed to
establish an ASEAN Community with three pillars, namely ASEAN Political - Security Community -
APSC, ASEAN Economic Community - AEC and ASEAN Socio - Cultural Community - ASCC
in the year 2015. The action to move towards an ASEAN Community, many issues are still so the
plan of APSC blueprint, it should be adjust a common policy. The perception of a common threat.
and identities, for cooperation in disaster management associates. ASEAN should establish
policies for the Armed Forces, that has the potential of troops and military equipment. Be a
mechanism for disaster management in ASEAN.
The results showed that the Royal Thai Armed Force is the units that are equipped
to handle a disaster. Including the ability of the mechanism of the ASEAN Agreement on Disaster
Management and Emergency Response; AADMER, consists of four main strategies and five
basic elements, consisting integration of policies to strengthen cooperation with ASEAN. On the
whole of Thailand, Should be given the primary responsibility of government units to provide
assistance and support. The Department of Defense and the Royal Thai Armed Force, particular
emphasis on disaster management and assistance to the country. Should the agency for disaster
management in the ASEAN countries. ready to the development of personnel and equipment in
the effectiveness. In principle, it must be the AADMER as a framework for disaster management.
In coordination with the ASEAN Coordinating Centre for Humanitarian Assistance on disaster management;
AHA Centre, to perform both as a nation, to disaster victims and as a nation to support. As well as
preparing the system for disaster relief and emergency response of ASEAN such as the system
preparation and the "standard operating procedures for regional standby arrangements and coordination of joint disaster relief and emergency response operation; SASOP, for the Royal
Thai Armed Forces to step in response to emergency situations. What to do before and after a
disaster.For how to proceed in the case of Thailand, is a help by the disaster mitigation centers in
all the units of the Royal Thai Armed Forces, in accordance with the level of violence and the
victims are. And the Royal Thai Armed Forces units is governed by supported of the National
Disaster Prevention and Mitigation Plan 2553 – 2557. The fourth strategy is to prevent and reduce
the impact, the preparation Management in emergency disaster situations that to request
assistance from a friendly country or international organization or AHA Centre. By the Royal
Thai Armed Forces will provide the mitigation center to serve as joint civil - military operations
center (CMOC) and post - disaster management.For disaster management of the Royal Thai
Armed Forces in case of Thailand are going to help by provide the mitigation center to coordinate
with the Department of Disaster Prevention and Mitigation. Using indicators to provide assistance
to the country members directly or through the AHA Centre. Then the National Coordinator of
the assistance given to or received by the assistance immediately or within 24 hours or a review to
help or not. In assisting of Thailand and the Royal Thai Armed Forces, the countries that victims
will coordinate to jointly assess needs help to make it clear to the corporations such as operations
and logistics to ensure that resources are delivered to help them with maximum performance.
The recommendations, the Royal Thai Armed Forces should have the specific policy
for the disaster management to support the APSC blueprint. To improve the role and functions of
the disaster mitigation centers to support the specific policy of the Royal Thai Armed forces to
handle such a disaster. Including the development of capabilities and the availability of personnel
and equipment of the Royal Thai Armed Forces units, to aid disaster victims in a timely and
effective by the National Disaster Prevention and Mitigation Plan 2553 – 2557, as well as
assisting with the ASEAN countries as well.
-2-