เรื่อง: แนวทางการเสริมสร้างความสุขในสังคมไทยอย่างยั่งยืน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว รัจนา เนตรแสงทิพย์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ก
เรื่อง แนวทางการเสริมสร้างความสุขในสังคมไทยอย่างยั่งย
ื
น
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วจิยั นางสาวรัจนา เนตรแสงทิพย์ หลักสูตร วปม. รุ่นที่ 7
การวิจยัคร้ังน้ีมีวตัถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจยัที่มีผลทา ให้คนไทยมีความสุข และ
เพื่อเสนอแนวทางการเสริมสร้างความสุขในสังคมไทยอย่างยงั่ ยืน โดยใชข้ ้อมูลจากโครงการ
ส ารวจขนาดใหญ่ (National Survey)ของสา นักงานสถิติแห่งชาติต้งัแต่ปี2551 – 2555 จ านวน
8 โครงการ ที่มีการผนวกแบบสอบถามของกรมสุขภาพจิต ที่เรียกว่า “แบบประเมินความสุข
คนไทย” โดยเก็บข้อมูลจากคนไทยที่มีอายุ 15 ปีข้ึนไปทั่วประเทศ แล้วท าการวิเคราะห์
องค์ประกอบหลักด้านความสุข 4 ด้าน คือ สภาพจิตใจ สมรรถภาพของจิตใจ คุณภาพจิตใจ
และปัจจัยสนับสนุน ท าการหาความสัมพันธ์ของความสุขกับปัจจัยต่างๆ ที่สนใจท้งัดา้นประชากร
วัฒนธรรม สังคม และเศรษฐกิจ และแสดงสมการความสัมพันธ์ของความสุข กับปัจจัยต่างๆ ที่มี
นัยส าคัญทางสถิติ ซึ่งผลการวิจัย พบว่า คนไทยโดยเฉลี่ยมีความสุขระดับปานกลาง โดยมีความสุข
เพิ่มข้ึนอยา่ งต่อเนื่องจากปี2551 ถึง 2555 (ยกเว้นปี 2554 ที่เกิดวิกฤติการณ์น้า ท่วมใหญ่) และพบว่า
ความสุขไม่ไดเ้กิดข้ึนจากปัจจยัใดปัจจยัหน่ึงอย่างเดียว แต่เกิดจากหลายปัจจัยประกอบกัน
ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ เป็ นเพียงปัจจัยหนึ่ งที่ก่อให้เกิดความสุขเท่าน้ัน ยงัมีปัจจัยอื่นๆ ที่มี
ความสา คญักบัความสุข เช่น การช่วยเหลือเก้ือกลูกนัในสังคม ความอบอุ่นในครอบครัว การมีสุขภาพ
แข็งแรง และการมีสวสั ดิการที่ดีเป็นตน้ ดงัน้นั หน่วยงานทุกภาคส่วน ท้งัภาครัฐ เอกชน และ
ประชาชน ท้งัในระดบั ประเทศ จงัหวดั ชุมชน และครอบครัว ต้องร่วมกันด าเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้อง
เพื่อยกระดบั และสร้างความสุขในสังคมไทยให้ยงั่ ยืน แทนการให้หน่วยงานใดหน่วยงานหน่ึง
รับผิดชอบ
abstract:
ABSTRACT
Title Guidelines for Creating Sustainable Happiness in Thai Society
Field Social – Psychology
Name Ms. Rajana Netsaengtip Course NDC (SPP) Class 7
The objectives of this study are to investigate factors that affected happiness of
Thai people and to provide guidelines for creating sustainable happiness in Thai society. The
study result was derived from the data of eight national surveys conducted by the National
Statistical Office during 2008 to 2012. These eight surveys had incorporated the questions on
mental health module initiated by the Department of Mental Health, Ministry of Public Health,
which was so-called “the Assessment of Happiness for Thai”. Information on this mental health
issue collected from Thai people aged 15 years throughout the country were analyzed for four
domains of happiness which are mental state, mental capacity, mental quality and supporting
factors. The study investigated the relation between happiness and other variables, which covered
a range of demographic, cultural, social and economic variables, and then constructed their
statistically significant correlation equation. The study reveals that the average happiness of Thai
people was at medium level and the happiness level had continually increased from 2008 to 2012
(this was except for the year 2011 in which there was a severe flooding in Thailand). The study
result shows that happiness was influenced by the combination of various factors. By this,
happiness was not only affected by the economic factors but also other factors such as the
supportive social/community, the warmth in the family, good health, receiving of good welfare,
and so on. Therefore, there is the need of the involvement from all part of the society, i.e. public
sector, private sector and people, and for both national level, sub-national level (province, and
community) and even at household level, in order to effectively increase and sustainably create
happiness in Thai society.