เรื่อง: การพัฒนาประสิทธิภาพการจัดสรรงบประมาณแบบบูรณาการเพื่อการพัฒนาสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมในระดับพื้นที่ กรณีศึกษากระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย เฉลิมพล เพ็ญสูตร
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การพฒั นาประสิทธิภาพการจดัสรรงบประมาณแบบบูรณาการเพอ
ื่ การ
พัฒนาสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมในระดับพื้นที่กรณีศึกษา
กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย
์
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผ้วูจิยั นายเฉลิมพล เพญ็ สูตร หลักสูตรวปอ. รุ่นที่๕๖
การวิจัยเรื่อง “การพัฒนาประสิทธิภาพการจัดสรรงบประมาณแบบบูรณาการเพื่อการ
พฒั นาสังคมและการจดัสวสั ดิการสังคมในระดบั พ้ืนที่กรณีศึกษา กระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมนั่ คงของมนุษย” ์ เป็ นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพโดยศึกษาบทบาทของส านักงบประมาณใน
การจดัสรรและติดตามการดา เนินงานของกระทรวงการพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์
(พม.) ผลการวิจัยพบว่า ระบบการจัดสรรงบประมาณเอ้ือต่อการบูรณาการงาน โดยส านัก
งบประมาณน า value Chain มาใช้ โครงสร้าง พม. ออกแบบให
้
มีการทา งานส่งต่อภารกิจ ท้งัน้ี
เงื่อนไขและแนวทางที่ส่งผลต่อความส าเร
็
จในการพัฒนาสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมเชิง
บูรณาการในระดับพ้ืนที่ คือ ระบบสารสนเทศเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์สังคม การจัดสรร
งบประมาณตอ
้
งพิจารณาการเชื่อมร
้
อยกระบวนงานและการนา ส่งผลผลิตระหว่างส่วนราชการ มี
กลไกกระทรวงระดบั พ้ืนที่เป็
นหน่วยปฏิบตัิและบูรณาการ ท้งัน้ีการปรับเปลี่ยนนโยบายรัฐบาล
และผบู้
ริหารระดบั สูงมีผลตอ่ ความตอ่ เนื่องและยงั่ ยืนของโครงการการให
้
องคก์รปกครองส่วน
ทอ
้
งถิ่น(อปท.) มีความตระหนักรู้
ยอมรับและร่วมเป็
นหุ้
นส่วนจะทา ให
้
งานบรรลุเป้
าหมาย
รูปแบบวัฒนธรรมองค์กร แนวคิดการท างานของบุคลากรและกฎระเบียบที่ยงัไม่ปรับเปลี่ยนท า
ให้ระบบงานไม่เอ้ือตอ่ การบูรณาการ ส าหรับข้อเสนอแนะการจัดสรรงบประมาณต้องน า value
chain มาใช
้
วิเคราะห์การส่งต่อกระบวนงาน ใช
้
พ้ืนที่เป็
นตวัก าหนดฐานงบประมาณ ตอ
้
ง
กา หนดใหก
้
ารบูรณาการเป็
นนโยบายที่ต้องท า ควรปรับโครงสร
้
างภารกิจ พม. ตามกลุ่มเป้
าหมาย
เพื่อให้ท างานเบ็ดเสร็จในส่วนราชการ สร้างคุณคา่และคา่ นิยมการทา งานบนพ้ืนฐานความส าเร
็
จ
ขององค์กรร่วมกัน พฒั นาระบบฐานขอ
้
มูลสารสนเทศที่เชื่อมโยงการใช
้ประโยชน์ร่วมกัน
ผลักดันให้การจัดสวัสดิการสังคมและพัฒนาสังคมเป็ นประเด็นสาธารณะให
้
ทุกภาคส่วนเข้ามา
ทา งานร่วมกนั เชิงระบบ ผู้ปฏิบัติงานต้องมีทักษะและระบบคิดเชิงบูรณาการ ให้ความส าคัญใน
การจดัการความรู้
และร่วมพฒั นาศกัยภาพพร
้
อมกบั ภาคีเครือขา่ ย
abstract:
ABSTRACT
Title Efficiency Improvement of Integrated Budget Allocation for Social Development and
Social Welfare at the local level: The Case of Ministry of Social Development and
Human Security
Field Social Psychology
Name Mr. Chalermphol Pensoot Course NDC Class 56
The study of ‘Efficiency Improvement of Integrated Budget Allocation for Social
Development and Social Welfare at the local level: The Case of Ministry of Social Development
and Human Security’ is the qualitative research studying the role of Bureau of the Budget (BoB)
for budget allocation and monitoring the performance of Ministry of Social Development and
Human Security (MSDHS). Findings from the study are as follows. Budgeting system can
facilitate the integration of work, which can be seen from the value-chain concept using by BoB
and the structure of MSDHS designing to work with missions. There are some conditions and
practices that contributed to the success of the integration of social development and social
welfare at the local level. First, MSDHS needs the information system for analyzing social
situation. Second, budget allocation should welding all procedures and delivering outputs from
many government agencies, using the local units of MSDHS as mechanism for practicing and
integrating all missions. Third, changing of government’s policy and shifting the executive level
of each agency affect the continuity and sustainability of the projects. Forth, in order to achieve
all goals, it is important to get the awareness, acceptance and partnership from local
administrative organizations (LAOs). And lastly, the organizational culture, personal attitudes
and regulation of MSDHS are not conducive to integration. There are some recommendations
from the study. Budget allocation should be: using the value-chain concept seriously for
analyzing procedures of different agencies; determining budget by the area based policy; and
setting the integration policy as the must to do. For the practitioner (MSDHS) should be;
restructuring the MSDHS’s missions based on target groups for comprehensively ensuring
government works; valuing of work values based on the success of organizations; developing the
information system associated the use of mutual benefit; urging social welfare and social
development as a public issue for all sectors to work together systematically; having the skills
and concepts of integration for all practitioners; featuring in knowledge management for all staff;
and developing the capacity to associate with the networks.