เรื่อง: แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพโครงสร้างพื้นฐานระบบการ ชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ, (วปอ.8789)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายวรพร ตั้งสง่าศักดิ์ศรี, (วปอ.8789)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพโครงสร้างพื้นฐานระบบการช าระเงิน
อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นายวรพร ตั้งสง่าศักดิ์ศรี หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๑
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบการช าระเงินของประเทศให้เป็นเครื่องมือส าคัญใน
การสนับสนุนให้ระบบเศรษฐกิจการเงินของประเทศมีความคล่องตัวและเติบโต ภาครัฐจึงได้
จัดท าและด าเนินการตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบการช าระเงินแบบ
อิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมให้มีการช าระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์
(e-Payment) เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมีระบบพร้อมเพย์เป็นระบบโครงสร้างพื้นฐานส าคัญ
ทั้งนี้ ที่ผ่านมาปริมาณธุรกรรม e-Payment มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นชัดเจน แต่ยังต่ า
กว่าประเทศพัฒนาแล้วมาก ขณะที่สื่อการช าระเงินรูปแบบเดิม คือ เงินสด และ เช็ค ยังคง
ได้รับความนิยม งานวิจัยฉบับนี้จึงมุ่งศึกษารูปแบบและพฤติกรรมการช าระเงินของผู้ใช้บริการ
ทางการเงินแต่ละกลุ่มให้ลึกซึ้งขึ้น เพื่อน าผลการศึกษามาใช้พิจารณาข้อเสนอแนะที่จะท าให้
ระบบ e-Payment เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมการพัฒนาระบบเศรษฐกิจของประเทศได้อย่าง
ยั่งยืน
จากการใช้วิธีการทางสถิติ ศึกษาความสัมพันธ์ของสื่อการช าระเงินรูปแบบต่าง ๆ
กับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และเพื่อหาผลกระทบจากการด าเนินนโยบายตามแผนพัฒนา
โครงสร้างพื้นฐานระบบการช าระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ พบว่า โดยรวมแล้ว การโอน
เงินผ่านช่องทางออนไลน์ เป็นรูปแบบการช าระเงินที่มีผลต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจมากที่สุด
รองลงมาคือการใช้จ่ายผ่านบัตรอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งนี้ ช่วงเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลให้การ
ช าระเงินรูปแบบอื่นลดความส าคัญลงเมื่อเทียบกับสองรูปแบบดังกล่าว สอดคล้องกับการเริ่มใช้
ระบบพร้อมเพย์และการขยายการติดตั้งเครื่อง EDC (electronic data capture machine)
ภายใต้การด าเนินแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบการช าระเงินแบบ
อิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ
จึงสรุปได้ว่า แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการช าระเงินแบบ
อิเล็กทรอนิกส์แห่งชาตินี้ มีการด าเนินการส าเร็จเป็นไปตามเป้าหมาย มีผลให้ e-Payment ทั้ง
ภาคประชาชน ภาคธุรกิจ และภาครัฐ เพิ่มสูงขึ้นอย่างน่าพอใจ อย่างไรก็ดี ภาครัฐยังคงต้อง
ผลักดันและพัฒนาระบบการช าระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์อย่างต่อเนื่อง งานศึกษานี้จึงมี
ข้อเสนอแนะเป็นแนวทางในการด าเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ในระยะต่อไป โดยมีกรอบใน
การพัฒนา ๓ ด้าน คือ ด้านการส่งเสริมการเข้าถึงและการขยายการใช้งาน ด้านการพัฒนา
โครงสร้างพื้นฐานและนวัตกรรม และ ด้านการเสริมสร้างระบบนิเวศน์
abstract:
Abstract
Title Study on Efficiency Enhancement of the National Electronic
Payment System Infrastructure
Field Economics
Name Mr. Woraporn Tangsaghasaksri Course NDC Class 61
Further improvements to the efficiency of the national payment
system are crucial for strengthening the growth and flexibility of the economy
and the financial system. As part of this ongoing effort the public sector has been
pushing forward the National e-Payment Master Plan. The objective is to
continuously increase the usage of e-payments with the Prompt-Pay system as
an important component of the overall infrastructure.
Although e-payment activities have shown a significantly rising trend,
the level is still far below those in advanced economies. Traditional payment
methods including cash and cheque continue to be ubiquitous. This research
paper therefore attempts to further examine patterns and behaviors of payments
methods by different groups of financial services users. The aim is to provide
policy recommendations based on the findings to strengthen the e-payment
system as a tool for ensuring the sustainability of economic growth.
Statistical analysis of various payment methods has shown that real
time on-line transfers have contributed the most to economic growth, followed
by the use of electronic cards. It has also revealed that the period following the
introduction of the prompt-pay system and the expansion of electronic data
capture machine installations within the National e-Payment Master Plan has
accorded with the period during which these two payment methods has
increased and the contributions of other methods has become less significant.
Hence, the National e-Payment Master Plan has accomplished its
objective, leading to a satisfactory increase in the usage of the electronic payment
by the household, business and public sectors. Notwithstanding, the public sector
has to continue pushing ahead further development of the electronic payment
system. This study proposes three aspects of policy recommendations for the
next phase of the strategic plan: promoting access and expanding usage,
developing infrastructure and enhancing innovation, and nurturing the ecosystem.