Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาอากาศยานไร้คนขับของกองทัพอากาศ เพื่อสนับสนนุภารกิจ HADR, (วปอ.8788)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พล.อ.ต. วรกฤต มุขศรี, (วปอ.8788)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2561
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการพัฒนาอากาศยานไรคนขับของกองทัพอากาศเพื่อสนับสนุนภารกิจ HADR ลักษณะวิชา การทหาร ผูวิจัย พลอากาศตรีวรกฤต มุขศรี หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๖๑ เอกสารวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ ศึกษา วิเคราะห และพัฒนาระบบอากาศยาน ไร&คนขับของกองทัพอากาศ ให&สามารถสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจ HADR ได& โดยมีขอบเขตของการวิจัย ด&านเนื้อหา ด&านประชากรผู&เชี่ยวชาญทางอากาศยานไร&คนขับ และด&านเวลา เป6นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีการดําเนินการ ดังนี้ การรวบรวมข&อมูลทางด&านทุติยภูมิและปฐมภูมิ การจัดระเบียบข&อมูลและ การวิเคราะหข&อมูล โดยการสัมภาษณเชิงลึกต:อผู&เชี่ยวชาญทั้งด&าน UAV และ HADR จํานวน ๑๐ คน แบ:งออกเป6นด&าน UAV ๕ คน และด&าน HADR ๕ คน จากนั้นนํามาวิเคราะห โดยวิธีการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) เพื่อแยกแยะให&เห็นถึงส:วนประกอบและความสัมพันธระหว:างส:วนประกอบต:าง ๆ ผลการวิจัยพบว:าควรต&องพัฒนาอากาศไร&คนขับของ ทอ. ให&สามารถครอบคลุมการปฏิบัติภารกิจ HADR ได&ทั้ง ๓ ขั้นตอน โดยเฉพาะขั้นตอนระหว:างการเกิดภัยพิบัติ (During - HADR) ซึ่งควรจะต&องมี อากาศยานไร&คนขับชนิดปVกตรึงขึ้นลงแนวดิ่ง (VTOL) ไว&ใช&งานในอนาคต และควรมีแนวทางการพัฒนา อากาศยานไร&คนขับชนิดปVกตรึงขึ้นลงแนวดิ่ง (VTOL) ในลักษณะ “System & Operational Concept” สามารถกําหนดเป6นแนวทางพัฒนาหลัก ๆ ทั้ง ๒ ประการ ได&แก: การพัฒนาองคประกอบระบบ คุณลักษณะทางกายภาพและการพัฒนาการใช&งานเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจ HADR ของ กองทัพอากาศ โดยคํานึงถึงปbจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข&อง ได&แก: ความสามารถปรับเปลี่ยนอุปกรณบรรทุก ได&หลากหลาย (Flexible Payload), ความง:ายต:อการวิ่งขึ้นลงสนาม (Easy launch), เคลื่อนย&ายสะดวก (Rapid Deployment) และมีระบบที่ไม:ต&องพึ่งพาพลังงานจากภายนอก (Self - Contained System) ซึ่งจากผลการวิจัยได&รับตัวแบบ (Model) ระบบอากาศยานไร&คนขับของ ทอ. ที่เหมาะสม กับภารกิจ HADR และกรอบแนวทางพัฒนาอากาศยานไร&คนขับชนิดปVกตรึงขึ้นลงแนวดิ่ง (VTOL) และมีข&อเสนอแนะคือกองทัพอากาศสามารถนําไปประยุกตเป6นแนวทางการพัฒนาหรือจัดหาอากาศ ยานไร&คนขับชนิดดังกล:าวไว&ประจําการในอนาคตได& อีกทั้งเอกสารวิจัยฉบับนี้ยังสามารถนําไปใช&วิจัย ต:อยอดสําหรับผู&ที่มีความสนใจด&านการพัฒนาอากาศยานไร&คนขับชนิด VTOL เพื่อประยุกตใช&งาน ในภารกิจอื่น ๆ นอกเหนือจาก HADR ได&อีกด&วย

abstract:

Abstract Title Guidelines for the development of the unmanned aircraft of the RTAF to support the HADR mission Field Military Name Air Vice Marshal Worakrit Muksri Course NDC Class 61 The purpose of this research document is to study, analyze, and develop the unmanned aircraft system supporting HADR operations. The scope of this qualitative research is the contents and the experts in a field of unmanned aerial vehicle, including time factor of HADR. The process of this study are collecting both secondary and primary data level, organize and analyze respectively. Including 10 in - depth interview with the experts of UAV and HADR which will be separated into 5 UAV and 5 HADR expert orderly. After that will bring all of these data into analyzing process by Content Analysis method to distinguish the relation between each components. The result showed that the direction of development for RTAF UAV should cover with 3 steps of HADR operations, especially during the time of disaster (During - HADR) which RTAF should has UAV VTOL type in readiness for operations in the future, and should has a clear direction of development for this type (VTOL) of UAV in kind of "system & operational concept", which can be defined into 2 mains developing directives, Component and physical system development, and Development to support on HADR operations of RTAF with all relevant, Ability of carrying various type of equipments (Flexible payload), Easy for takeoff and landing (Easy Launch), Convenient for deployment (Rapid deployment), and not relies on outsource energy (self - contained system) According to the study result, RTAF has produced a model for unmanned aerial vehicle, and development framework on VTOL unmanned aerial vehicle type. And suggestion that RTAF can apply this knowledge on Development directive or procurement for UAV in the future. Framework this research can be used as base study for any advance level research in the future for anyone who interested in applying VTOL UAV for any other task beyond HADR.