Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาและสงเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชน เพื่อความมั่นคงด้านอาหาร กรณีศึกษา จังหวัดบุรีรัมย์, (วปอ.8784)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาวเรณุมาศ อิศรภักดี, (วปอ.8784)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2561
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการพัฒนาและสงเสริมผลิตภัณฑชุมชนเพื่อความมั่นคงด!านอาหาร กรณีศึกษา จังหวัดบุรีรัมย ลักษณวิชา การเศรษฐกิจ ผูวิจัย นางสาวเรณุมาศ อิศรภักดี หลักสูตร วปอ. รุนที่ 61 การเปลี่ยนแปลงบริบทของสังคมจากภาคการเกษตรเข!าสูชุมชนเมืองและจํานวน ประชากรโลกที่เพิ่มขึ้นสงผลให!ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยอาจเผชิญป8ญหาการเข!าถึงอาหารและ โภชนาการที่ดี งานวิจัยนี้เป9นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อจัดทําข!อเสนอแนะในการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน เพื่อสร!างความมั่นคงทางอาหารในจังหวัดบุรีรัมยซึ่งถูกเลือกเป9นกรณีศึกษาเนื่องจากเป9นจังหวัดที่มี ความนาสนใจจากความสําเร็จในการยกระดับจาก “เมืองผาน” เป9น “เมืองพัก” อีกทั้งมีความ ได!เปรียบในเชิงยุทธศาสตรด!านเกษตรกรรมและวัฒนธรรมที่เป9นเอกลักษณประจําถิ่น ซึ่งมีโอกาสใน การพัฒนาและจัดทําข!อเสนอแนะได! โดยทําการวิเคราะหการกําหนดยุทธศาสตร นโยบาย และ แนวทางการดําเนินงานของเป?าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs),ยุทธศาสตรชาติ 20 ปI (พ.ศ. 2561- 2580),แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564), นโยบายการปรับ โครงสร!างประเทศไทยไปสูประเทศไทย 4.0 ยุทธศาสตรการจัดการด!านอาหาร ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2560-2579 และแผนการพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือและจังหวัดบุรีรัมยที่เกี่ยวข!องกับความ มั่นคงทางอาหารและการสงเสริมวิสาหกิจชุมชน รวมทั้งสัมภาษณเจ!าหน!าที่ที่เกี่ยวข!อง ซึ่งพบความ สอดคล!องของนโยบาย แผนยุทธศาสตร และแผนการพัฒนาในระดับชาติ ระดับภาค และระดับ จังหวัดในภาพรวม แตมีความแตกตางกันบ!างในรายละเอียดและตัวชี้วัดในการดําเนินงาน อีกทั้งยังพบ ป8ญหาความเชื่อมโยงในการดําเนินงานที่ยังไมสามารถบูรณาการได!อยางเป9นรูปธรรม จากการทํางาน ที่ซ้ําซ!อนของหนวยงานที่รับผิดชอบหลักการกําหนดบทบาทของหนวยงานที่รับผิดชอบที่ไมชัดเจน หรือไมครอบคลุมและการจัดทําระบบติดตามและประเมินผลที่ไมมีประสิทธิภาพเพียงพอด!านการ สงเสริมวิสาหกิจชุมชน พบวา จังหวัดบุรีรัมยมีการสงเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑชุมชนให!ได!มาตรฐาน สร!างตราสัญลักษณ “บุรีรัมย แบรนด” และนําจุดเดนของแตละพื้นที่มาพัฒนาเป9นชุมชนการ ทองเที่ยวเพื่อสร!างมูลคาเพิ่มให!กับสินค!าเกษตรที่ผลิตในชุมชนซึ่งเป9นเอกลักษณประจําพื้นที่ ดังนั้น เพื่อให!ชุมชนมีต!นทุนแหลงอาหารที่ปลอดภัย มีปริมาณเพียงพอตอการบริโภคและประกอบ ธุรกิจ โดยสามารถเข!าถึงและใช!ประโยชนจากแหลงอาหารในชุมชนอยางมีเสถียรภาพ ลดการพึ่งพา จากภายนอก ผู!วิจัยจึงขอเสนอแนะดังนี้ (1) รัฐบาล ให!ความสําคัญกับการกําหนดนโยบายตามหน!าที่ ของผู!รับผิดชอบหลัก สนับสนุนการเข!าถึงแหลงเงินทุน และกําหนดตัวชี้วัดระดับผลลัพธเพื่อให!เกิด การบูรณาการการทํางานระหวางหนวยงาน (2) จังหวัดบุรีรัมย ผลักดันให!เกิดการทํางานรวมของ หนวยงานในพื้นที่ทั้งภาครัฐและเอกชนตลอดหวงโซ และสงเสริมการตลาดเพื่อสร!างความได!เปรียบใน การแขงขัน และ (3) วิสาหกิจชุมชน สนับสนุนการสร!างผู!นําที่มีภาวะแบบรับใช! สนับสนุนให!คนใน ชุมชนมีสวนรวมในการพัฒนาทุกขั้นตอน และสร!างความตระหนักให!เห็นถึงความสําคัญของแหลง อาหารในชุมชน

abstract:

Abstract Title Recommendations for Development and Promotion of Community Products for Food Security, Case: Buriram Province Field Economics Name Miss. Renumas Isarabhakdi CourseNDCClass61 Changes in socio-economic context from agricultural to non-agricultural sector and increase of world’s population may lead to food insecurity in many countries including Thailand. This research is a qualitative research, aims to provide recommendations for development and promotion of community products for food security in Buriram, which is interested in achievement in changing Buriram from “Passing through city” to “Visited city”. Besides, Buriramhas strategic advantages in unique agriculture and cultures, that can be an opportunity for developing and providing recommendations. In this study, SDGs, The 20-Year National Strategic Plan (B.E. 2561-2580), The Twelfth National Economic and Social Development Plan (B.E. 2560-2564), Thailand 4.0, The Second Strategic Framework for Food Management in Thailand, and Southeast and Buriram Development Plans were analyzed in aspect of food security and promotion of community enterprises, and the opinions from authorities were obtained by interview. The results showed that, overall, there are some concordances among the plans, with differences in details and KPIs. Moreover, some operational plans are lack of adequate link so that the implementation between the plans cannot provide efficient integration, starting from redundant works, unclear responsibilities or inadequate assignment for main authorities, and ineffective monitoring and evaluation system. For community enterprise promotion, Buriram has a policy to promote and develop standardized community products, creating “Buriram Brand” and develop tourism communities for value-added products. Most importantly, in order to promote community products for food security, this study recommends to (1) Government to emphasize on policy making that belongs to the right authority, support financial resource, and set outcome KPI to integrate cooperation between agencies. (2) Office of Buriram to push for cooperation between local agencies and promote marketing activities for higher competitive advantages. And (3) Community Enterprise to build servant leadership, support people in the community to involve in every steps of development, and be awareness in importance of food resources in the community.