เรื่อง: การวิเคราะห์ความเหมาะสมของแหล่งพลังงานไฟฟา สําหรับภาคใต้ของประเทศไทย, (วปอ.8781)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางรัตติยา จันทร์ฉวี, (วปอ.8781)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง การวิเคราะหความเหมาะสมของแหลงพลังงานไฟฟาสําหรับภาคใต
ของประเทศไทย
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ผูวิจัย นางรัตติยา จันทรฉวี หลักสูตร วปอ. รุนที่61
การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงคสําคัญ 3 ขอ คือ 1. ศึกษาป3จจัยสําคัญที่ใชพิจารณาคัดเลือก
แหลงพลังงานที่เหมาะสมสําหรับใชผลิตไฟฟาในภาคใตของประเทศไทย 2. จัดลําดับแหลงพลังงาน
ที่เหมาะสมสําหรับใชผลิตไฟฟาในภาคใตของประเทศไทย และ 3. เพื่อนําเสนอขอมูลสําหรับการจัดทํา
แผนจัดหาแหลงพลังงานผลิตไฟฟาในภาคใตของประเทศไทยในงานวิจัยไดประยุกตใชการวิเคราะหกระบวนการ
ตัดสินใจแบบหลายเกณฑ (Multi-Criterior Decision Making) โดยเลือกใช AHP (Analytic Hierarchy
Process)เปTนเครื่องมือในการศึกษา จัดทําแบบสอบถาม เพื่อเปรียบเทียบเกณฑหรือป3จจัยที่กําหนดไว
เปTนคู ๆ ซึ่งประกอบไปดวย 5 ป3จจัยหลัก ไดแก ป3จจัยดานคุณภาพไฟฟา ราคาไฟฟาตอหนวย
(kWh) ศักยภาพของวัตถุดิบและเชื้อเพลิง ผลกระทบทางสังคม ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ผูตอบ
แบบสอบถามจํานวน 12 คนแบงไดเปTน 9 กลุม ประกอบดวย กลุมผูผลิตและจําหนายไฟฟา กลุมผูดูแล
นโยบายพลังงาน กลุมกํากับกิจการพลังงาน นักวิชาการดานพลังงาน เอกชนผูประกอบการโรงไฟฟา
จากสภาอุตสาหกรรม องคกรไมหวังผลกําไร (NGO) นักการเมืองสายพลังงาน สื่อมวลชนสาย
พลังงาน และผูแทนประชาชนผูใชไฟฟาภาคใต ซึ่งเปTนกลุมที่มีความเชี่ยวชาญ และมีสวนไดสวนเสีย
ที่แตกตางกัน โดยจัดลําดับแหลงพลังงานที่เหมาะสมสําหรับการผลิตไฟฟาในภาคใตของประเทศไทย
7 แหลง ไดแก ก^าซธรรมชาติ ถานหินสะอาด ก^าซชีวภาพจากน้ําเสีย ของเสีย ชีวมวล ก^าซชีวภาพ
จากพืช พลังงานแสงอาทิตย และพลังงานลม
ผลการวิจัยพบวา 5ป3จจัยที่ใชเปTนเกณฑในการพิจารณาแหลงพลังงานไฟฟาที่เหมาะสม
สําหรับภาคใต สามารถนํามาใชได โดยป3จจัยที่ไดรับการจัดลําดับแรก ไดแก ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม
รองลงมา คือ คุณภาพไฟฟา ศักยภาพของวัตถุดิบและเชื้อเพลิง ราคาไฟฟาตอหนวย และผลกระทบ
ทางสังคม ตามลําดับ สวนแหลงพลังงานที่ไดรับการจัดลําดับสูงสุด ไดแก ก^าซธรรมชาติ รองลงมา คือ
ถานหินสะอาด พลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม ก^าซชีวภาพจากน้ําเสีย/ของเสีย ก^าซชีวภาพจาก
พืชพลังงาน และพลังงานชีวมวลถูกจัดเปTนลําดับสุดทาย ซึ่งผลการศึกษา อาจนําไปใชในการจัดทํา
แผนจัดหาแหลงพลังงานสําหรับภาคใตของประเทศไทยได โดยเนนแหลงพลังงานอันดับ 1 และ 2 คือ
ก^าซธรรมชาติ และถานหินสะอาด โดยไมละเลยแหลงพลังงานทดแทนที่มีศักยภาพในพื้นที่ภาคใต
รวมถึงทางเลือกในการสรางสายสงเพิ่มเติมเพื่อนําไฟฟาจากพื้นที่ที่มีไฟฟาเหลือใช หรือซื้อไฟฟาจาก
ประเทศเพื่อนบาน แตตองคํานึงถึงความคุมคาในการลงทุนเปTนสําคัญ
abstract:
Abstract
Title An Analysis of the proper energy source of electric power for the
southern region of Thailand
Field Science and Technology
Name Mrs. Rattiya Chanchawee Course NDC Class 61
The objectives of this research are to: 1. study the criteria for selecting
energy sources to produce the power generation in the southern region of Thailand;
2. study the ranking of proper energy sources for the power generation in the
southern region of Thailand; and 3. propose information for acquisition plan of power
plant in the southern region of Thailand.
In this research, the Analytical Hierarchy Process (AHP) was applied as
a tool for ranking energy sources through questionnaire surveys. Questionnaires were
made to compare criteria and alternative sets in pairs. Five criteria were selected:
quality of electricity; unit price (kWh); potential of raw material and fuel; social
impact; and environmental impact. Nine groups of different backgrounds were
involved as questionnaire respondents. Seven of energy sources were selected to
study which consisted of 1. natural gas, 2. clean coal, 3. biogas from sewage/waste
materials, 4. biomass, 5. biogas from plants, 6. solar energy, and 7. wind energy.
The results reveal that, among five criteria of selecting suitable energy
source to produce the power generation in the southern region of Thailand,
environmental impact is the first priority, followed by the quality of electricity, the
potential of raw material and fuel, unit price, and social impact, respectively. The top
rank of energy sources is natural gas. Surprisingly, clean coal is come in second rank,
and followed by solar energy, wind energy, biogas from sewage/waste materials,
biogas from plants, and biomass, respectively. The result of this research can be
applied for acquisition plan by focusing on the first and the second ranks of energy
sources. However, it should be suggested that the additional power cables and the
purchase of electricity from neighbor countries is necessary to determine carefully. In
addition, cost-effective investment is also of substantial concerns.