เรื่อง: การบริหารจัดการงบประมาณด้านการส่งกำลังบำรุงในการจัดหาและซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์ของกองทัพบก, (วปอ.8772)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี ภูวนารถ ชมพูบุตร, (วปอ.8772)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การบริหารจัดการงบประมาณด้านการส่งก าลังบ ารุงในการจัดหาและซ่อมบ ารุง
ยุทโธปกรณ์ของกองทัพบก
ลักษณะวิชา การทหาร
ผู้วิจัย พลตรีภูวนารถ ชมพูบุตร หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๑
การวิจัยเรื่องการบริหารจัดการงบประมาณด้านการส่งก าลังบ ารุงในการจัดหาและ
ซ่อมบ ารุงยุทโธปกรณ์ของกองทัพบก เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีวัตถุประสงค์
๒ ประการ คือ ๑. เพื่อศึกษาสภาพปัญหาของการบริหารจัดการงบประมาณด้านการส่งก าลังบ ารุง
ในการจัดหาและซ่อมบ ารุงยุทโธปกรณ์ของกองทัพบก ๒. เพื่อเสนอแนวทางการบริหารจัดการ
งบประมาณด้านการส่งก าลังบ ารุงในการจัดหาและซ่อมบ ารุงยุทโธปกรณ์ของกองทัพบก การวิจัยครั้งนี้
ท าการศึกษาสภาพปัญหาของงบประมาณด้านการส่งก าลังบ ารุงในการจัดหาและซ่อมบ ารุง
ยุทโธปกรณ์ของกองทัพบก โดยเทียบเคียงกับแนวคิดเรื่องระบบส่งก าลังบ ารุงร่วม (ILS : Integrated
Logistics Support)ด้วยการรวบรวมข้อมูล แนวคิด ทฤษฎี นโยบาย ค าสั่ง เอกสารทางวิชาการ ต ารา
รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-dept Interview) ในกลุ่มผู้ก าหนด
นโยบายที่มีความเชี่ยวชาญ ในงานด้านการส่งก าลังบ ารุง และมีบทบาทในการก าหนดนโยบายของ
กรมส่งก าลังบ ารุงทหารบก จ านวน ๔ คน รวมถึงการสนทนากลุ่ม (Focus Group) ในกลุ่มผู้บริหาร
ที่มีบทบาทและภารกิจ ในด้านการควบคุมการปฏิบัติในการส่งก าลังบ ารุง ของกรมส่งก าลังบ ารุงทหารบก
จ านวน ๘ คน ผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ ๑ พบว่า การจัดหายุทโธปกรณ์ของกองทัพบก
ขาดความสมดุลในการน าปัจจัยทั้ง ๖ ด้าน มาพิจารณา โดยให้น้ าหนักปัจจัยทางด้านยุทธการมากเกินไป
การค านวณงบประมาณในการปรนนิบัติบ ารุงและการซ่อมบ ารุงน้อยเกินไป อีกทั้งยังขาดหน่วยงาน
ที่จะพิจารณากลั่นกรองในขั้นตอนการพิจารณาความเหมาะสม ก่อนที่จะน าเรียนผู้มีอ านาจตัดสินใจ
ผลการวิจัย ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ ๒ พบว่า การจัดหายุทโธปกรณ์ของกองทัพบก ควรพิจารณาปัจจัย
ทั้ง ๖ ด้าน อย่างครบถ้วน อีกทั้งควรน าระบบส่งก าลังบ ารุงรวม (ILS : Integrated logistics Support)
มาใช้อย่างจริงจัง และเพิ่มเติม ในระเบียบ/ค าสั่ง กรณีที่คณะกรรมการก าหนดมาตรฐานยุทโธปกรณ์
ของกองทัพบก (กมย.ทบ.) ไม่ได้จัดล าดับมาตรฐานยุทโธปกรณ์ที่รับรองแบบไว้ โดยให้แบ่งการ
ด าเนินการออกเป็น ๒ กรณี คือ กรณีไม่เร่งด่วน และกรณีเร่งด่วน เพื่อท าหน้าที่พิจารณาการ
ด าเนินการจัดหายุทโธปกรณ์ของกองทัพบก ทั้งนี้เมื่อได้รับอนุมัติหลักความต้องการจากกองทัพบกแล้ว
จึงเข้าสู่กระบวนการจัดหายุทโธปกรณ์ต่อไป นอกจากนั้นควรแบ่งกลุ่มยุทโธปกรณ์และก าหนด
แนวทางการด าเนินการซ่อมบ ารุงยุทโธปกรณ์ ออกเป็น ๓ กลุ่ม เพื่อให้ง่ายต่อการก าหนดความต้องการข
งบประมาณในการซ่อมบ ารุงยุทโธปกรณ์ รวมถึงควรเพิ่มเติมขั้นตอนและบทบาท/หน้าที่ให้
คณะอนุกรรมการจัดสรรงบประมาณด้านโครงการ พิจารณากลั่นกรองความเหมาะสม หลังจาก
ที่ส านักงานปลัดบัญชีกองทัพบก ประสานส านักงบประมาณฯ ในเรื่องกรอบงบประมาณด้านโครงการ
เพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างงบประมาณการจัดหาและการซ่อมบ ารุงยุทโธปกรณ์ของกองทัพบก
ในส่วนของข้อเสนอแนะนั้น กองทัพบกควรก าหนดปัจจัยการพิจารณาจัดหายุทโธปกรณ์ทั้ง ๖ ด้าน
รวมถึงกรมส่งก าลังบ ารุงทหารบกควรก าหนดแนวทางในเรื่องหลักการจัดหาและซ่อมบ ารุงยุทโธปกรณ์
เพื่อให้กรมฝ่ายยุทธบริการ และ กรมฝ่ายกิจการพิเศษยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติต่อไป
abstract:
Abstract
Title The Managementof Logistics Budget For the Procurement and Maintenance
of Army Equipment
Field Military
Name Major General Bhuwanart Chompoobutr Course NDC Class 61
The objective of this qualitative research is twofold: first to study the
problems of managing logistics budget for the procurement and maintenance of
army equipment, secondly, to propose a guideline on such management. This research
studied these management problems in line with comparable integrated logistics
support (ILS). We investigated data, ideas, theories, orders, academic papers, textbooks
as well as relevant research studies. In addition, we interviewed four people with
expertise in logistics and playing a role as policy maker for the Directorate of Logistics,
Royal Thai Army (DOL). We also performed a group discussion with eight executive
officials in DOL. Our research, in response to the first objective, shows that in procuring
army equipments, the six determining factors has not been used equally. More
specifically, the operational factor dominated all other factors. Meanwhile, the
maintenance budget factor was not considered literally. Moreover, there is no entity
responsible for the practicability of the equipments being procured before the final
decision was made by authorized official. As for the second objective, our research
suggests that, in procuring equipments, the six determining factors should be use
thoroughly. However, when competitive equipments procured were not ranked by
the Equipment Standard Designation Committee, ILS should be examined with two
options: urgent and non-urgent. After which, the procurement process shall proceed.
Furthermore, we should divide equipment and its maintenance into three categories
for the sake of maintenance budget allocation. In order to have decent proportion
between procurement budget and maintenance budget, equipment practicability
should also be considered by the project budget allocation sub-committee after the
office of the army comptroller has coordinated with the bureau of the budget. Weง
also suggest that The Royal Thai Army should apply the six determining factors in the
process. In addition, DOL should set a guideline on Procurement and maintenance of
army equipment.