เรื่อง: แนวทางการบูรณาการข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data):กรณีศึกษา สถิติสาขาประชากรศาสตร์ ประชากรและเคหะ, (วปอ.8770)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติยุทธศาสตร์/Strategy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายภุชพงค์ โนดไธสง, (วปอ.8770)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง แนวทางการบูรณาการขอมูลขนาดใหญ (Big Data): กรณีศึกษา สถิติสาขา
ประชากรศาสตร+ ประชากรและเคหะ
ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร+
ผูวิจัย นายภุชพงค+ โนดไธสง หลักสูตรวปอ. รุนที่ 61
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค+ 1) เพื่อศึกษาและวิเคราะห+การบูรณาการขอมูลขนาดใหญ
(Big Data) ของประเทศไทย2)เพื่อศึกษาป>ญหาอุปสรรคในการบูรณาการขอมูลขนาดใหญดาน
ประชากรศาสตร+ ประชากรและเคหะ 3) เพื่อกําหนดแนวทางการบูรณาการขอมูลขนาดใหญ (Big Data)
ดานประชากรศาสตร+ ประชากรและเคหะระเบียบวิธีการวิจัยแบบผสมผสานวิธี (Mixed Method
Research) 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การวิจัยเชิงปริมาณโดยศึกษาวิเคราะห+เปรียบเทียบความ
เหมือนและความแตกตางของของการจัดทําดานประชากรศาสตร+ ประชากรและเคหะ จากวิธีการ
สํารวจเต็มรูปแบบ กับการใชขอมูลทะเบียนราษฎรเปNนกรอบและเติมเต็มดวยวิธีการสํารวจขอมูล
เพิ่มเติม ดวยคารอยละ (Percentage) ขั้นตอนที่ 2 การวิจัยเชิงคุณภาพ ใชการสอบถามความคิดเห็น
และการสัมภาษณ+เชิงลึก บุคลากรของสํานักงานสถิติแหงชาติ และผูมีสวนไดสวนเสีย
(Stakeholders) ที่เกี่ยวของกับสํานักงานสถิติแหงชาติ เพื่อประเมินสภาพแวดลอมขององค+กร และ
วิเคราะห+ขอมูลเชิงคุณภาพ ดวยการวิเคราะห+เนื้อหา (Content Analysis)
ผลการวิจัยพบวา 1) สามารถใชขอมูลทะเบียนเปNนขอมูลตั้งตนในการจัดทําสํามะโน
ประชากรและเคหะ เพื่อลดภาระงบประมาณ ระยะเวลา รวมทั้งลดภาระของผูใหขอมูลได 2) ป>ญหา
อุปสรรคในการบูรณาการขอมูลขนาดใหญดานประชากรศาสตร+ ประชากรและเคหะ ที่สําคัญที่สุดคือ
กฎหมายการคุมครองขอมูลสวนบุคคลทําใหไมสามารถนําขอมูลมาใชประโยชน+รวมกันได 3) แนวทาง
การบูรณาการขอมูลขนาดใหญ (Big Data) ดานประชากรศาสตร+ ประชากรและเคหะควรปรับปรุง พ.ร.บ.
สถิติ ใหทันสมัย และเอื้อตอการบูรณาการขอมูล รวมทั้งควรพัฒนาแนวทางการนําขอมูลขนาดใหญ
มาใชประโยชน+ เพื่อทดแทนการทําสํามะโนสํารวจแบบดั้งเดิม
ขอเสนอแนะ การบูรณาการขอมูลขนาดใหญ ดานประชากรศาสตร+ ประชากรและเคหะ
ควรใชขอมูลทะเบียนเปNนขอมูลตั้งตน และควรเชื่อมโยงฐานขอมูลทะเบียนจากหลาย ๆ แหลง เพื่อให
มีการเก็บขอมูลรายละเอียดเพิ่มเติมนอยลง อีกทั้งควรบูรณาการขอมูลขนาดใหญจากแหลงตาง ๆ
เชน CCTV ขอมูลการใชโทรศัพท+เคลื่อนที่ เปNนตน กับขอมูลทะเบียน เพื่อเติมเต็มและเพิ่มคุณภาพข
ของขอมูลทะเบียน นอกจากนี้ยังควรปรับปรุงกฎหมายในประเด็นการเป\ดเผยขอมูล ใหสามารถใช
ประโยชน+ขอมูลสวนบุคคลเพื่อการจัดทําสถิติ เพื่อลดภาระงบประมาณแผนดิน
abstract:
Abstract
Title Big Data Integration guidelines: case studies demographic
population and housingstatistics
Field Strategic
Name Mr. PutchapongNodthaisongCourseNDCClass 61
This research was aimed to study and analyze the integration of big data
in Thailand. This also investigated to its occurring problems, obstacles and
recommendations in integrating big data in case of demography population and
housing. Based on the integrated methodologies comprised of the 2 practical steps.
Step 1 Quantitative research by analyzeand compare the similarities and differences
of the population and housing data between the full census method and the
registration-based census method. The data were analyzed by a computer program
for percentage. Step 2 Qualitative research, a survey research, by usingquestionnaires
with the staff of the National Statistical Office (NSO) and the related stakeholders. In
addition, the research also used the in -depth interview to the Executive
representative of the NSO. And analyzing qualitative data with content analysis.
The results of the research are concluded as follow: 1) The civilregistration data can be used as the initial data in the population and housing
census. To reduce the budget burden, time period, and reduce the burden of
informants. 2)The root causes of big data integration problems arising from the rules
and legal norms for personal data protection among agency. 3) The guidelines for
integrating big data into the demographic population and housing statistics: amend
the statistics act for passing legislation on administrative records and Integratebig
data sources into the production of statistics.
Suggestions from the research was that NSO should be compiled the
population and housing statistics based on administrative records. Besides, using ICT
devices such as mobile phones, CCTV, etc. to complement population and housing
data. However, for big data use in statistics to be successful, it is essential to drive
legislative changesthat would provide a legal framework for accessing, processing and
utilizing big data.