เรื่อง: มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่าย งบประมาณรายจายประจําปี, (วปอ.8762)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางเพชรัตน์ เสรีพันธุ์พานิช, (วปอ.8762)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใชจายงบประมาณรายจายประจําป
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผูวิจัย นางเพชรัตน! เสรีพันธ!พานิช หลักสูตร วปอ. รุนที่ 61
เอกสารวิจัยฉบับนี้จัดทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงค!เพื่อศึกษามาตรการเพิ่มประสิทธิภาพ
การใชจายงบประมาณรายจายประจําป โดยศึกษา วิเคราะห!มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใชจาย
งบประมาณรายจาย ผลการเบิกจาย สภาพป5ญหาและอุปสรรคในการดําเนินมาตรการฯ รวมทั้งแนวทาง
การปรับปรุง/แกไขมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใชจายงบประมาณรายจายประจําปในอนาคต
โดยรวบรวมขอมูลจากเอกสาร ตํารา ผลงานทางวิชาการ ขอมูลของทางราชการ รวมทั้งกฎหมาย
ที่เกี่ยวของ และขอมูลจากการสัมภาษณ!ผูบริหารหนวยงานและเจาหนาที่ที่เกี่ยวของกับการจัดทํา
งบประมาณ
ผลการศึกษาวิจัยดังกลาวพบวา มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใชจายงบประมาณ
ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2559 - 2561 ประกอบดวย 2 สวนหลัก ไดแก 1) การกําหนดเปBาหมาย
การเบิกจายงบประมาณรายจายประจําป จําแนกเปCนการเบิกจายงบประมาณในภาพรวม การเบิกจาย
รายจายประจําและการเบิกจายรายจายลงทุน 2) แนวทางการดําเนินการตามมาตรการฯ เพื่อให
สวนราชการดําเนินการตามหลักเกณฑ!และเงื่อนไขที่กําหนด พบวา สาระสําคัญของมาตรการฯ ไมมี
ความแตกตางกันอยางมีนัยยะ สําหรับการวิเคราะห!ผลการใชจายงบประมาณตามมาตรการฯ พบวา
ผลการเบิกจายในภาพรวมและรายจายลงทุนต่ํากวาเปBาหมายที่กําหนดไว ทั้ง 3 ป ในขณะที่
ผลการเบิกจายงบประมาณรายจายประจําสูงกวาเปBาหมายทั้ง 3 ป ผูวิจัยไดจัดทําขอเสนอแนะแนว
ทางการปรับปรุง/แกไขมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใชจายงบประมาณรายจายประจําปในอนาคต
โดยเสนอใหกระทรวงเจาสังกัดเรงรัดใหสวนราชการดําเนินการกอหนี้ผูกพันและเบิกจายงบประมาณ
ใหเปCนไปตามแผนที่กําหนด โดยคํานึงถึงผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพของหนวยงานเปCนสําคัญ และมี
การติดตามประเมินผลอยางตอเนื่อง ในสวนของหนวยรับงบประมาณควรมีการวางแผนและจัดทําคําขอ
งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณใหสอดคลองกับแผนปฏิบัติราชการของสวนราชการ และ
แผนปฏิบัติราชการของกระทรวงที่มีความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร!ชาติ แผนแมบทภายใตยุทธศาสตร!ชาติ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 และแผนการปฏิรูปประเทศ มีเปBาหมายตัวชี้วัด
ที่ชัดเจน สามารถตรวจสอบและประเมินผลสัมฤทธิ์ไดจริง รวมทั้งควรมีการสื่อสารใหความรูกับสวนราชการ
และผูประกอบการเกี่ยวกับกระบวนการ ขั้นตอน และวิธีการจัดซื้อจัดจางตามระเบียบกระทรวงการคลัง
วาดวยพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 เพื่อลดป5ญหา/อุปสรรค
ที่เกี่ยวของ บนพื้นฐานของความถูกตอง โปรงใส และเปCนธรรม
abstract:
Abstract
Title Annual budget spending enhancement measure
Field Economics
Name Petcharat Serephanpanich Course NDC Class 61
This research aims to study the annual budget spending enhancement
measure by exploring, studying and analyzing the budget expenditure spending measure,
disbursement performance, problems and obstacles to the implementation of such a
measure as well as how the measure could be improved / adjusted in the future. In this
regard, data from documents, textbooks, academic papers, official data together with
related laws and information derived from agencies’ executives and officials involved in
the budget preparation.
The research findings show that the budget spending enhancement measure
implemented for the FY 2016 – FY 2018 consisted of two main components. The first
component is the determination of the disbursement targets for the annual budget
expenditure, dividing into the overall budget disbursement, current and capital budget
disbursement. The second is the implementation guideline including criteria and
conditions that government agencies have to follow. The result indicates that the
essence of the measures was not significantly different. With respect to the analysis of
the budget spending result based on the measure, it shows that the overall budget and
capital budget disbursement rates are less than the specified targets for all 3 fiscal years.
On the other hand, the current budget disbursement rates are higher than the specified
targets for all 3 fiscal years. Thus, the researcher has identified recommendations on how
the annual budget spending enhancement measure can be improved / adjusted in the
future by proposing that supervising ministries should accelerate their line agencies to
commit obligations and disburse their corresponding budgets according to their specified
plans while ensuring the outcome and efficiency of each agency and having conducted
monitoring and evaluation on a continuous basis. Regarding budget receiving agencies,
they should ensure their planning and annual budget request preparation are consistent
with the action plan of the agency and the ministry’s action plan is linked with the
National Strategy, Master Plans under the National Strategy, the 12th National Economic
and Social Development Plan and the Country Reform Plan, with clear, verifiable and
truly outcome assessable. In addition, communication efforts should be made to ensure
government agencies and entrepreneurs learn and understand the procurement
processes, procedures and methods based on the Ministry of Finance’s Regulation on
the Public Procurement Act B.E. 2560 so that associated problems / obstacles could be
mitigated on the basis of accuracy, transparency and fairness.