เรื่อง: แนวทางการกำหนดนโยบายส่งเสริมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของประชาชน, (วปอ.8761)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติยุทธศาสตร์/Strategy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นพ. พูลลาภ ฉันทวิจิตรวงศ์, (วปอ.8761)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการกา หนดนโยบายส่งเสริมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของประชาชน
ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์
ผู้วจิยั นายแพทย์ พูลลาภ ฉันทวิจิตรวงศ์ หลกัสูตร วปอ. รุ่นที่61
การวิจยัน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อกา หนดแนวนโยบายส่งเสริมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ
ที่ดีของประชาชนให้สอดคลอ้งกบั สถานการณ์และบริบทสังคมในปัจจุบนั โดยมีขอบเขตครอบคลุม
แนวทางด้านการพัฒนาด้านการมาตรฐานอาหารและด้านการบริหารจัดการข้อมูลการสื่อสารการ
พัฒนาความรู้และการสร้างเครือข่ายเพื่อกระจายความรู้สู่ประชาชน วิธีการวิจัยเป็ นการศึกษาเชิง
คุณภาพ โดยการศึกษาสถานการณ์ด้านการบริโภคอาหารจากการศึกษาเอกสารการประชุมระดมสมอง
และสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารและวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการจดักลุ่มความคิดเพื่อกา หนดแนวนโยบาย
ตามวัตถุประสงค์ ผลการวิเคราะห์สภาพปัญหาที่สา คญั พบว่าประชาชนเขา้ถึงขอ้ มูลไดอ้ยา่ งรวดเร็ว
และหลากหลายช่องทางซ่ึงอาจข้อมูลเท็จหรื อชักน าให้เกิดพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสม
ประชาชนซ้ืออาหารผ่านระบบออนไลน์มากข้ึน ซึ่ งอาจเป็นอาหารที่ยงัไม่ได้รับการอนุญาตจาก
ส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา นอกจากน้ียงัมีการปลอมปนสารหา้มใชใ้นอาหารเช่น การผสม
ยาในผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและมีการพัฒนานวัตกรรมอาหารมากข้ึน ซ่ึงการกา หนดมาตรฐานอาหาร
อาจยงัไม่ครอบคลุม สถานการณ์ดังกล่าวทา ให้เกิดปัญหาที่ส าคัญ 2 ด้าน ได้แก่การเกิดโรคทาง
โภชนาการเนื่องจากสารอาหารที่ไดร้ับไม่สมดุลและการเจ็บป่วยจากอนั ตรายที่ปนเป้ือนในอาหาร
ซึ่งการวิเคราะห์สาเหตุเชิงลึกพบว่า ปัญหาดงักล่าวเกิดจากประชาชนขาดรู้และความตระหนักด้าน
ความปลอดภัยและคุณภาพทางโภชนาการอาหาร ท าให้เกิดพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่
ไม่เหมาะสม รวมท้งัผู้ประกอบการยังขาดความรู้ความตระหนักและความรับผิดชอบต่อคุณภาพและ
ความปลอดภัยอาหารอีกท้งัระบบการกา กบั ดูแลของรัฐที่ไม่สามารถรองรับกบั บริบทสังคมปัจจุบันที่
เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาอยา่ งรวดเร็วจึงทา ใหม้ีการละเมิดกฎหมาย ดงัน้นั จึงเสนอนโยบายส่งเสริมการ
บริโภคอาหารฯ คือ “คุณภาพและความปลอดภัยอาหารเป็นความรับผิดชอบร่ วมกันของทุกภาคส่วน”
กล่าวคือ ท้งัผปู้ระกอบการผบู้ริโภคและหน่วยงานรัฐตอ้งมีความรับผิดชอบต่อบทบาทและหนา้ที่ของ
ตนเองและมีการพัฒนาศักยภาพและความรอบรู้ใหเ้ท่าทันเทคโนโลยีเพื่อให้อาหารที่ผลิตและบริโภค
มีคุณภาพทางโภชนาการที่เหมาะสมและมีความปลอดภยันา ไปสู่การมีสุขภาพดี
abstract:
Abstract
Title Direction of Policy on Food Consumption for Promotion of Consumer’s Health
Field Strategy
Name Poonlarp Chantavichitwong Course NDC Class 61
The main objective of this research was to formulate the directions of policy on food
consumption for consumer’s health promotion in a way that to be consistent with the current
situations of food system and social context. The scopes of the policy direction to be proposed were
food standard measurements, information management and communication, development of literacy
and knowledge dissemination networking. The research methodology was qualitative study.
Situation was reviewed by document study and brain storming in a group of implementer from all
sectors in food system. In-depth interview was performed within executive level of stakeholders in
food system to obtain the recommendations on policy direction. To formulate the policy direction,
data analysis was performed by content analysis technique with application of affinity analysis.
Results of situation review revealed the 4 most important issues that might affect consumer’s health.
Firstly, consumers can quickly receive information from multiple channels which some information
mightbe fraud or misleading and hence could create inappropriate consumption behavior. Secondly,
consumer purchased foods from the online market places in which the unauthorized food products
may be sold. Thirdly, foods were adulterated with prohibited substances such as drugs in food
supplements. Lastly, there was raising trend of food innovation and novel foods of which qualities
and safety criteria might be not covered under the existing food standards. These issues caused two
health problems, i.e. the nutrition related diseases due to imbalance of nutrient uptake and food
safety related diseases due to exposure of health hazards. Root cause analysis showed that the root
causes of these issues were the lack of knowledge and awareness on nutrition and food safety of
stakeholders, both consumer and food producers. Additionally, unethical of some food business
operators as well as low performance and impractical of the official food control system were the
root causes of the violation of food regulations. To deal with the issues, therefore, the policy
direction was proposed as “Food quality and safety is a shared responsibility”. This policy direction
proposed guides that all stakeholders in food system, i.e. consumer, producer and the authorities
shall take part in ensuring food quality and safety based on its roles and responsibilities in order to
obtain foods with appropriate nutritional quality and safe for consumption. It is envisaged that all
stakeholders in food system would translate the proposed policy direction into actions in order to
achieve the ultimate goal of good health for all.