เรื่อง: รูปแบบการจัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำ สำหรับเด็กด้อยโอกาส
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย พะโยม ชิณวงศ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่องรูปแบบการจดัการศึกษาเพอ
ื่ การมีงานท าส าหรับเด็กด้อยโอกาส
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วจิยั นายพะโยม ชิณวงศ์ หลักสูตร วปม. รุ่นที่7
การวิจัยคร้ังน้ีมีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาความเหมาะสมของรูปแบบการจัดการศึกษาเพื่อ
การมีงานท า ส าหรับเด็กด้อยโอกาส และศึกษาอาชีพที่เหมาะสมตามรูปแบบการจัดการศึกษาเพื่อการมี
งานท า ส าหรับเด็กด้อยโอกาส กลุ่มตัวอย่าง ที่ใชใ้นการศึกษาคร้ังน้ีได้แก่ ผู้บริหาร และครู ในโรงเรียน
สังกัดส านักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ปี การศึกษา 2557 จ านวน 487 คน โดยใช้ตารางการสุ่มตัวอย่าง
ของ Krejcie and Morgan ที่ระดบัความเชื่อมนั่ ร้อยละ95 เครื่องมือที่ใช้เป็ นแบบสอบถามที่มีค่าความเชื่อมนั่
เท่ากับ 0.91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า
ความเหมาะสมของรูปแบบการจัดการศึกษาเพื่อการมีงานท า ส าหรับเด็กด้อยโอกาส พบว่า ภาพรวม 4
รูปแบบ อยู่ในระดับมาก(
x =4.10 , S.D. = 0.23)โดยมีรูปแบบการจดัรายวิชาเพิ่มเติมในแผนการเรียน
วิชาปกติ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ การจัดการศึกษาในรูปแบบทวิภาคี การจัดการศึกษาตาม
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)และการจดัการศึกษารายวิชาอาชีพระยะส้ัน ตามล าดับ ส าหรับ
อาชีพที่เหมาะสมตามรูปแบบการจัดการศึกษาเพื่อการมีงานท า ส าหรับเด็กด้อยโอกาส พบว่า รูปแบบ
การจัดรายวิชาเพิ่มเติมในแผนการเรียนวิชาปกติกลุ่มอาชีพที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ กลุ่มงานอาชีพ
เกษตรกรรม รองลงมาคือ กลุ่มงานอาชีพอุตสาหกรรม และกลุ่มงานอาชีพคหกรรม ตามล าดับ ในขณะที่
รูปแบบการจัดการศึกษาในรูปแบบทวิภาคี กลุ่มอาชีพที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือกลุ่มงานอาชีพเกษตรกรรม
รองลงมาคือ กลุ่มงานอาชีพอุตสาหกรรม และกลุ่มงานอาชีพคอมพิวเตอร์ตามล าดับ ส าหรับรูปแบบ
การจัดการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)กลุ่มอาชีพที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ กลุ่มงาน
อาชีพเกษตรกรรม รองลงมาคือ กลุ่มงานอาชีพคิดสร้างสรรค์ บริการ พาณิชย์ และกลุ่มงานอาชีพคหกรรม
ตามล าดับ และรูปแบบการจัดการศึกษารายวิชาอาชีพระยะส้นั กลุ่มอาชีพที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ กลุ่มงาน
อาชีพอุตสาหกรรม รองลงมาคือ กลุ่มงานอาชีพคอมพิวเตอร์และกลุ่มงานอาชีพคิดสร้างสรรค์ บริการ
พาณิชย์ตามล าดับ
abstract:
ABSTARCT
Title : Education Model For employment to Disadvantaged chiidren.
Field : Social - Psychology
Name : Mr. Payom Chinwong Course NDC (SPP) Class 7
The purposes of this research were to research suitability of Education Model for
employment to Disadvantaged children and Research appropriate career of Education Model for
employment to Disadvantaged children. The sample drawn using a sample random sampling was
administrator and teacher in the school Bureau Special Education during the academic year of 2014
of the 487 peoples. Using a sampling grid of Krejcie and Morgan at with confidence level 95 and
Used as a test the reliability of 0.91. Data were analyzed by percentage. The mean and Standard
deviation. The findings showed that: Suitability of Education Model for employment to
Disadvantaged Children that all 4 types in great (
x
= 4.10 , S.D 0.23) . The most of average is Formal
Education in the teaching plan. The second is the Education Model of Bilateral, Certificate education
and Short Vocational Education. And Research appropriate career of Education Model for employment
to Disadvantaged. Research finding were The most of average is Formal Education in the teaching
plan, there are Agricalture group, the second is Industry group. and Economics group. White,
the most average is the Education Model of bilateral, there are Agricalture group. The second is
Industry group. And ICT group. For Certificate education. The Agricalture group is the most average.
The second is Certificate is Progressive thinking group Sevice and Commerce and Economic group.
The Short Vocational Education . There are Industry group is the most average, the second is ICT
group and Progressive thinking group. Sevice and Commerce.