เรื่อง: ความมั่นคงทางการเงินของสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์, (วปอ.8755)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายพิเชษฐ์ วิริยะพาหะ, (วปอ.8755)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง ความมั่นคงทางการเงินของสมาชิกสหกรณออมทรัพย
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผูวิจัย นายพิเชษฐวิริยะพาหะ หลักสูตร วปอ. รุนที่ 61
สหกรณออมทรัพยเปนแหลงเงินกูในระบบลำดับที่ 3 รองจากธนาคารพาณิชย
และสถาบันการเงินเฉพาะกิจ สมาชิกสหกรณออมทรัพยบางกลุมอาชีพรวมรอยละ 45 ของจำนวนสมาชิก
ทั้งหมดกวา 3 ลานคน มีหนี้สินตอหัวโดยเฉลี่ยมากกวาหนี้สินตอหัวในภาพรวมของประเทศ
3 – 5 เทา ซึ่งเปนสถานการณหนึ่งที่ยืนยันวาปญหาหนี้ครัวไทยวาอยูในภาวะที่นาเปนหวง
ตามที่หลายๆ หนวยงานไดใหความสนใจอยางตอเนื่อง เนื่องจากปญหาหนี้สินครัวเรือนอาจสงผลกระทบตอ
เสถียรภาพทางการเงินของประเทศได ผูวิจัยจึงทำการศึ กษาความมั่ นทางการเงิน
ของสมาชิกสหกรณออมทรัพย โดยมีวัตถุประสงค เพื่อ 1. เพื่อสำรวจความมั่นคงทางการเงิน
ของสมาชิกสหกรณออมทรัพย2. เพื่อศึกษาปจจัยดานนโยบายการบริหารสินเชื่อของสหกรณออมทรัพยท ี่
สงผลกระทบตอความมั่นคงทางการเงินของสมาชิกสหกรณออมทรัพย และ 3. เพื่อหาแนวทาง
ในการปรับปรุงนโยบายการบริหารสินเชื่อของสหกรณออมทรพัยใหสงผลเชิงบวกตอความมั่นคงทางการเงิน
ของสมาชิก กลุมเปาหมายเปนกลุมสหกรณออมทรัพยที่สมาชิกมีหนี้สินตอหัวโดยเฉลี่ยสูงที่สุด ตามรายงาน
ที่กรมตรวจบัญชีสหกรณเผยแพรป 2560 สามลำดับแรก ไดแก กลุมสหกรณออมทรัพยครู กลุมสหกรณ
ออมทร ั พย ตำรวจ และกล ุ มสหกรณ ออมทร ั พย สาธารณส ุข ใช ว ิ ธี การศึ กษาว ิ จั ย
แบบผสมผสานระหวางเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ (Mixed Method) เพื่อลดขอจำกัดของวิธีการศึกษา
รูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง ใหสามารถตอบวัตถุประสงคของงานวิจัยไดสมบูรณที่สุด เครื่องมือ
ที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลประกอบดวยแบบสอบถามสมาชิก การสัมภาษณฝายบริหารและ
ฝายจัดการของสหกรณ และการศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวของ การวิเคราะหหาความมั่นคงทางการเงินของ
สมาชิกแตละสหกรณ กำหนดจากอัตราสวนความอยูรอดและอัตราสวนสภาพคลองพื้นฐาน
ที่ผูวิจัยมีการเพิ่มองคประกอบบางตัวเพื่อใหสามารถอธิบายความหมายไดดีขึ้น สวนการทดสอบ
ความมีนัยสำคัญของตัวแปรดวยสมการถดถอยโลจิสติกสเพื่อหาปจจัยที่จะเพิ่มโอกาสที่สมาชิกจะเห็นวา
นโยบายสินเชื่อของสหกรณชวยเสริมสรางความมั่นคงทางการเงิน ข
ผลการศึกษาตามวัตถุประสงคขอที่ 1 ในภาพรวมมีสมาชิกประมาณรอยละ 24
ของผูตอบแบบสอบถามทั้งหมดที่มีความมั่นคงทางการเงิน เมื่อพิจารณาตามกลุมอาชีพ กลุมตำรวจและ
กลุมครูมีสมาชิกที่มีความมั่นคงทางการเงินมากที่สุดในสัดสวนเทา ๆ กันประมาณรอยละ 24
สวนกลุมสาธารณสุขสมาชิกมีความมั่นคงทางการเงินรอยละ 20 และไมวาสมาชิกสหกรณ
ในกลุมอาชีพใด หรือไมวาจะเปนสมาชิกที่อยูในกลุมหนี้ตอหัวสูงหรือหนี้ตอหัวต่ำ สมาชิกสวนใหญ
มีปญหาการขาดสภาพคลองพื้นฐานมากกวาปญหาความอยูรอดในแตละเดือน
ผลการศึกษาตามวัตถุประสงคขอที่ 2 ผลการทดสอบสมการถดถอยโลจิสติกส พบวา สหกรณ
ออมทรัพยทั้งสามกลุมอาชีพ คือ ครู ตำรวจ และสาธารณสุข ที่สมาชิกมีหนี้สินเฉลี่ยตอหัวต่ำ
ไมมีตัวแปรที่มีนัยสำคัญทางสถิติที่จะอธิบายผลลัพธได ซึ่งเปนประเด็นนาสนใจควรมีการขยายผล
เพื่อหาคำอธิบายในเชิงลึกมากขึ้นเพื่อใหไดองคความรูใหมๆ หรือทราบตัวแปรที่สำคัญอื่น ๆ
สวนสหกรณออมทรัพยที่สมาชิกมีหน้สีินเฉลี่ยตอหัวสูง มีตัวแปรที่มีนัยสำคญั คือเงินคงเหลือหลังหักชำระ
หนี้ อัตราดอกเบี้ย งวดการผอนชำระหนี้ และวงเงินกูยืม ผลที่ไดแสดงนัยวาหากสหกรณ
มีการปรับปรุงนโยบายสินเชื่อตามตัวแปรที่มีนัยสำคัญทางสถิติเหลานี้นาจะมีประสิทธิผลในการชวย
เสริมสรางความมั่นคงทางการเงินใหกับสมาชิกมากกวาตัวแปรอื่นๆ โดยสมาชิกกลุมครู
และกลุมตำรวจใหความสำคัญกับ “งวดการชำระหนี้” มากที่สุด
ผลการศึกษาตามวัตถุประสงคขอที่ 3 สรุปไดวา แนวนโยบายที่สหกรณและสมาชิกตองการ
ปรับ และขอแนะนำของกรมสงเสริมสหกรณเปนไปในทางเดียวกัน คือ การกำหนดงวดการชำระหนี้ไมเกิน
360 งวดลดอายุสูงสุดที่ตองชำระหนี้ใหแลวเสร็จลง ลดเพดานวงเงินกู เพิ่มเงินคงเหลือหลังหักชำระหนี้ให
มากขึ้น กำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกูใหเหมาะสมและควรต่ำกวาอัตราดอกเบี้ยของธนาคารพาณิชยโดย
แนวโนมความตองการของสมาชิกในกลุมหนี้ตอหัวสูงและหนี้ตอหัวต่ำของทั้งสามกลุมอาชีพแตกตางกันใน
แตละนโยบาย โดยกลุมหนี้ตอหัวสูงตองการจำนวนงวดและวงเงินที่มากกวากลุมหนี้ตอหัวต่ำ แตตองการ
เงินคงเหลือหลังหักชำระหนี้และอัตราดอกเบี้ยที่ต่ำกวา ที่นาสังเกตคือทั้งสองกลุมตองการผอนชำระหนี้ให
แลวเสร็จภายในอายุ 60 ปเทากัน นั่นหมายถึงสมาชิกไมวากลุมใดก็ไมตองการเปนหนี้หลังเกษียณอีก การ
ปรับนโยบายสินเชื่อทั้งหาดานนี้จะสงผลทั้งทางตรงและทางออมตอองคประกอบความมั่นคงทางการเงินให
เปนไปในทิศทางที่สงผลเชิงบวกตอความมั่นคงของสมาชิก
การจะสรางความมั่นคงทางการเงินใหสมาชิกจะมีประสิทธิผลและสำเร็จไดตองอาศัยความ
รวมมือจากหลายฝายโดยเฉพาะผูมีสวนไดสวนเสียหลัก ไดแกกรมสงเสรมิสหกรณกรมตรวจบัญชีสหกรณ
และธนาคารแหงประเทศไทยซึ่งเปนภาครัฐที่ทำหนาที่แตกตางกันไปตามอำนาจหนาที่ของแตละหนว ยงาน
ซึ่งตองประสานสอดคลองกันอยางครบวงจรครอบคลุมการกำกับดูแลและแนะนำสงเสริม สหกรณออมทรัพยค
ควรเพิ่มศักยภาพในการเปนที่ปรึกษาทางการเงินใหกับสมาชิกและมีนโยบายที่สงเสริมธุรกิจทั้งสามมิติ คือ
ทั้งสงเสริมการออม สงเสริมอาชีพ และใหกูตามความจำเปนและมีเงื่อนไขการใหกูที่เหมาะสม
ธนาคารพาณิชยปรับเปลี่ยนบทบาทจากคูแขงเปนผูสนับสนุนธุรกิจของสหกรณโดยใหบริการผานสหกรณ
รวมถึงการใหความรูแกสหกรณในการบริหารสินเชื่อที่มีประสิทธิภาพ สุดทายผูที่สำคัญที่สุด
ในการสรางมั่นคงทางการเงินก็คือตัวสมาชิกเอง ตองสรางวินัยทางการเงนิ หารายไดเสริม รวมถึงหาความรู
เพิ่มเติมในการบรหิารเงนิสวนบุคคลและการลงทุน
abstract:
ง
Abstract
Title Financial stability of saving cooperative members
Field Economics
Name Mr. Pichet Wiriyapaha Course NDC Class 61
Saving cooperatives were the number three source of loan after
commercial bank and financial institutions. Members of saving cooperatives with some
occupational groups totaling 45 percent, of the 3 million strong members, have debts
that are amount to 3 – 5 times higher than the national per capita debt. As such the
researcher studied the financial stability of saving cooperatives members had three
purposes. Firstly, to survey the financial stability of members of saving cooperatives.
Secondly, to study loan management variables of saving cooperatives that affect
financial stability of saving cooperative members. Thirdly, to find guidelines in
improving loan management policy of saving cooperatives in the way that positively
affect the members' financial stability. The target of the study included teachers saving
cooperative, police saving cooperative and public health saving cooperative. This
study was of mixed method to reduce the shortcomings of either qualitative or
quantitative method, so that the objectives of the study can be best answered. The
analysis of financial stability of members of each cooperative was based on the ratio
of survivability and liquidity that the researcher further added some element to
increase the power of explanation. The test of significance of variables with logistics
regression to find variables that show cooperative members that the cooperative loan
policy helps increase financial stability.
The results of the study according to objective 1 revealed that
approximately 24 percent the respondents with financial stability consisted, in terms
of occupation, of police officers and teachers as the most financially stable. This was
while those who work in public health were 20 percent financially stable. The
cooperative members regardless of occupational groups or group of high or low per จ
capita debt, faced the problems stemming from the lack of basic liquidity more than
the survivability in each month.
As for objective 2, the test of logistic regression revealed that the
cooperatives with low debt members did not have any statistically significant variables
that could explain the results. So there should be further search for possible
explanation to gain a new body of knowledge or to find out other significant variables.
The cooperatives with high debt members had the following statistically significant
variables; The amount of money left after paying off debt, interest rate, the number
of debt repayment installments, and loan cap. The results implied that once the
cooperatives have improved their credit policy in the areas of these statistically
significant variables, they should be more effective in building financial stability for
their members than working with other variables. The teacher and police group
considered the number of debt repayment installments the most important.
The answer of the objective 3 could be concluded that the policies that
cooperatives and cooperative members needed to adapt to and the guidelines
provided by the Department of Cooperative Promotion aligned. That included the
maximum debt payment installments of not more than 360, reduction of maximum
age for finishing off debt payment, reduction of loan cap, increasing the leftover money
after the debt payment. Setting the appropriate interest rate (for loan) that should be
lower than the rates of commercial banks. The trend of wants among the members
falling into high and low debt groups of the three occupation groups were different for
each policy. The high debt wanted a higher number of installments and higher loan
cap than the low debt. The high debt wanted leftover money after paying off debt
and lower interest rate. It was worth noting that both groups want to pay off their debt
before reaching 60 years of age, meaning neither group wanted to be indebted after
the retirement. The adjustment of loan policies in the five ways would directly and
indirectly affect the elements of financial stability of the members in a positive way.
To effectively create the financial stability among cooperative members
requires cooperation from many sectors especially the main stakeholders, including ฉ
Cooperative Promotion Department, Cooperative Audit Department and Bank of
Thailand, which represent the governmental sector working together according to their
roles in supervising and promoting the cooperatives. Saving cooperatives should work
on building their potentials as a financial consultant for their members and the three
dimensional business promotion constituting saving promotion, career promotion and
loaning when appropriate with appropriate conditions. Commercial banks turn from
the competitor to the supporter of cooperative business. The support also includes
providing knowledge in efficient credit management. Lastly, the members themselves.
They need to build up their financial discipline, find alternative sources of income and
educate themselves in personal financial management and investment.