Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: อุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาคกับการพัฒนานวัตกรรมเชิงพื้นที่, (วปอ.8753)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, รศ.พาสิทธิ์ หล่อธีรพงศ์, (วปอ.8753)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2561
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง อุทยานวิทยาศาสตรภูมิภาคกับการพัฒนานวัตกรรมเชิงพื้นที่ ลักษณะวิชา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ผูวิจัย รองศาสตราจารย พาสิทธิ์ หล'อธีรพงศ หลักสูตรวปอ. รุนที่ ๖๑ อุทยานวิทยาศาสตรเป,นกลไกที่สําคัญสําหรับการพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานนวัตกรรม ป2จจุบันประเทศไทยได4ลงทุนสร4างอุทยานวิทยาศาสตรภูมิภาคแม'ข'าย ๓ แห'ง และ เครือข'าย ๑๔ แห'ง กระจายอยู'ทั่วประเทศทั้งหมดดําเนินการโดยมหาวิทยาลัย งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการ ดําเนินงานของอุทยานวิทยาศาสตรภูมิภาคแม'ข'ายทั้ง ๓ แห'ง เพื่อบ'งชี้อุปสรรคหรือข4อจํากัดของการ ดําเนินงานในระยะที่ผ'านมาพร4อมกับจัดทําเป,นข4อเสนอแนะสําหรับการดําเนินงานในระยะต'อไป ผลการศึกษาพบว'า โดยทั่วไป อุทยานวิทยาศาสตรภูมิภาคมีศักยภาพในการสร4างผลกระทบทางเศรษฐกิจ และสังคมให4กับพื้นที่ได4แต'ก็ยังมีอุปสรรคที่เกิดจากข4อจํากัดของงบประมาณไม'เพียงพอที่จะสร4างความ เข4มแข็งให4อุทยานได4อย'างต'อเนื่อง ป2ญหาการบริหารจัดการภายใน ซึ่งนับว'ายังอยู'ในระยะเริ่มต4นและ ป2ญหาในการสร4างและดํารงไว4ซึ่งผู4เชี่ยวชาญสําหรับทํางานตามแผนงาน สําหรับการดําเนินการ ในระยะต'อไป ควรพิจารณาหากมีการปรับเรื่องโครงสร4างการกํากับดูแลอุทยานวิทยาศาสตร โดยให4 กระทรวงฯ มีบทบาทในการบริหารอุทยานวิทยาศาสตรร'วมกับมหาวิทยาลัยมากขึ้น มีการขยายขอบเขต ภารกิจจากการให4บริการเป,นรายบริษัท มาเป,นการพัฒนาระบบนิเวศของธุรกิจทีมีศักยภาพในพื้นที่ โดยเลือกจากอุตสาหกรรมที่เป,นจุดแข็งของพื้นที่และต4องมีหน'วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคสังคม ทํางานร'วมกันแบบ Helixเพื่อบรรลุวัตถุประสงคให4เกิดระบบนิเวศทางเศรษฐกิจ อีกทั้งอุทยานฯ ยังสามารถเป,นแกนหลัก ในการสร4างระบบนิเวศ เพื่อแก4ป2ญหาทางสังคมและสิ่งแวดล4อมได4อีกด4วย ป2จจัยสําคัญที่จะทําให4ประสบความสําเร็จอีกประการหนึ่งคือ การผ'อนคลายกฎระเบียบการจัดซื้อจัดจ4าง ที่เอื้อต'อเทคโนโลยีหรือกฎระเบียบอื่นที่เกี่ยวข4อง และการให4โอกาศกับระบบนิเวศสามารถทํา Sandbox ได4ตามความจําเป,น คําสําคัญ: อุทยานวิทยาศาสตร ระบบนิเวศนวัตกรรม นวัตกรรมเชิงพื้นที่

abstract:

Abstract Title Science Park is an Important Mechanism for Economic Development Based on Innovation Field Science and Technology Name Associate professor PasitLorterapongCourseNDCClass61 Science Park is an important mechanism for economic development based on innovation. At present, Thailand has developed three main Regional Science Parks (RSP) as a hub of 14 university science parks locating across the nation. The objectives of this research are two folds: to identify obstacles and limitations associated with the operations of RSPs in the past, and to develop recommendations for future operations. In general, it can be concluded that regional science parks can create impact on the economic and social development of its vicinity. However, RSPs also face major obstacles including budget constraintsand internal management. To circumvent such obstacles, the study identifies two major recommendations for next phases of RSPs operation. First, it is recommended that the governance structure of RSPs should be reviewed, to promote joint governance of RSP between the ministry and university. Second, it is recommended that the next-phases mission of RSPS includes the development of ecosystemsfor potential businesses in the regionand helix type of collaboration among government organizations, private sectors and local communities should be underlined in the projects. Moreover, the science parks should play core functional ecosystem development role to tackle societies and environmental problems. Nonetheless, the non-restricted regulations should be applied to accommodate to the new technologies and other existing functions for example constructing the sandbox initiative models as necessary. Keywords: Science Park, Innovation Ecosystem, Area Innovation