เรื่อง: แนวทางการบริหารจัดการที่ราชพัสดุให้เกิดประโยชน์เพื่อการพัฒนาด้านเศรษฐกิจของประเทศอย่างยั่งยืน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย พฤฒิชัย ดำรงรัตน์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื
อง แนวทางการบริหารจัดการทีราชพัสดุให้เกิดประโยชน์เพือการพัฒนาเศรษฐกิจของ
ประเทศอยางยั ่ งยืน
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผ้วิจัย ู นายพฤฒิชัย ดํารงรัตน์ หลักสูตร วปม. ร่นที
ุ 7
การศึกษาวิจัยเรื อง “แนวทางการบริ หารจัดการทีราชพัสดุให้เกิดประโยชน์เพือการพัฒนา
เศรษฐกิจของประเทศอย่างยังยืน” มีวัตถุประสงค์ 1 ประการ ประการแรกเพือศึกษาการ บริ หารจัดการ
ทีราชพัสดุของประเทศในระยะเวลาทีผ่านมาจนถึงปัจจุบัน ประการทีสองเพือศึกษาปัญหา อุปสรรค ของการ
บริหารจัดการทีราชพัสดุเพือการพัฒนาเศรษฐกิจ ประการทีสามเพือเสนอแนะแนวทางการบริหารจัดการ
ทีราชพัสดุให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพือการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศอย่างยังยืน มีขอบเขตการศึกษาวิจัย
ตั6งแต่การได้มาซึ งทีราชพัสดุ ประเภทของทีราชพัสดุ ตลอดถึงการบริหารจัดการทีราชพัสดุ ปัญหา อุปสรรค
ในการบริหารจัดการทีราชพัสดุเพือการพัฒนาด้านเศรษฐกิจอยางยั ่ งยืน พร้อมทั 6งเสนอแนะแนวทางการแกไข้
ปัญหาเกี
ยวกบการบริหารจัดการทีราชพัสดุ ตั ั 6งแต่ปี พ.ศ. :;;< จนถึงปัจจุบัน โดยการศึกษาวิจัยชิ6นเป็ นการวิจัย
เชิงคุณภาพศึกษาวิจัยจากข้อมูลทุติยภูมิ หนังสือและเอกสารทางวิชาการ รายงาน กฎหมาย ระเบียบทีเกียวข้อง
เอกสารโครงการ แผนงานการปฏิบัติงานของหน่วยงานทั6งกรมธนารักษ์ และหน่วยงานอืน ๆ ทีเกียวข้อง
ผลจากการศึกษาโครงการนําทีราชพัสดุเพือแกไขปัญหาความยากจน ตามนโยบายของรัฐบาล ้
พบว่า กรมธนารักษ์ไม่ใช่หน่วยงานหลักในการจัดการแก้ไขปัญหาความยากจน แต่กรมธนารักษ์เป็ นเพียง
หน่วยงานหนึ งทีสนับสนุน ทีดินทํากินให้แก่ประชาชนทีไม่มีทีดินทํากิน เพือบรรเทาความเดือดร้อน
ดังนั6น กรณีกรมธนารักษ์ได้นําทีราชพัสดุไปจัดสรรให้ประชาชนเช่าเพือประกอบการเกษตรในอัตราค่าเช่า
ทีถูก เพือแกไขปัญหาความยากจน จึงไม ้ ่สามารถแกไขปัญหาได้อย ้ างแท้จริงเป็ นเพียงแก ่ ไขปัญหาในระยะสั ้ 6น
เท่านั6น ผู้ศึกษาจึงได้ให้ข้อเสนอแนะว่า เพือให้การแก้ไขปัญหาความยากจนอย่างเบ็ดเสร็จยังยืน จะต้องมี
การบูรณาการแก้ไขปัญหาร่วมกันกับหน่วยงานอืน ๆ เช่น กรมพัฒนาทีดิน กรมส่งเสริ มการเกษตร
กรมชลประทาน เป็ นต้น เพือให้เกษตรกรสามารถพึงพาตนเองได้ และควรส่งเสริมพัฒนาโครงสร้างพื6นฐาน
การพัฒนาทีดิน แหล่งนํ6า และปัจจัยการผลิต รวมทั6ง การพัฒนาเกษตรกร โดยเพิมความรู้ความสามารถ ทักษะ
และประสบการณ์ของการทําอาชีพเกษตรกรรม เพือให้การประกอบอาชีพเกษตรกรรมมีความมันคงและมี
รายได้เพียงพอกบการดําเนินชีวิตต ั ่อไป
abstract:
ABSTRACT
Title The Management of State Property for the Sustainable Economic Development of Thailand
Field Economics
Name Mr. Pruttichai Damrongrat Course NDC (SPP) Class 7
The research on “The Management of State Property for the Sustainable Economic Development
of Thailand” has three main objectives as follows: 1. to study the management of state property in the past
until present, 2. to examine the problems and obstacles in the management of state property for economic
development, and 3. to provide recommendations for the management of state property for the sustainable
economic development of Thailand. The scope of this research covers the acquisition of state property,
the types of state property, the issues faced in the management of state property dating from B.E. 2550 until
present which includes the problems and obstacles to attaining sustainable economic development, and
the recommendations for resolving state property issues. This is a qualitative research that utilizes secondary
data from books/ publications, academic papers, researches, laws, related rules and regulations, project
reviews, action plans from offices under the Treasury Department and other related agencies.
The result of this study shows that the Treasury Department’s state property projects for food
crops and energy-substitution crops which leases state property to farmers at low rental rates to alleviate
poverty has not been an efficient tool in resolving this issue in the long run; it has been able to mitigate this
problem only in the short run. The alleviation of poverty for farmers in the long run requires the integration of
the cooperation of all government agencies involved such as the Land Development Department, the
Department of Agriculture Extension, the Royal Irrigation Department and other agencies involved in the
processing of agricultural products so that farmers would be able to sustain a living independently. Also, the
promotion of infrastructure development, the land, soil and agricultural products process quality development
and the knowledge management of farmers are critical factors to achieve a stable agricultural sector/profession.
The expansion of agricultural plots to meet the continual demand of agricultural products of the
increasing population has become difficult; thus, this research recommends that the government should
promote the agricultural sector qualitatively rather than quantitatively through the use of state property for the
highest benefit by disseminating knowledge, the developing skills in the production process, providing
adequate water sources to increase crop produce during non-seasonal periods, promoting value-added
processed agricultural products, and selling agricultural products at fair price. All of this would result in a
more balanced distribution of income, the creation of fairness in the agricultural sector, and the alleviation of
economic, social and political disparity all for sustainable economic development of Thailand.