Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การศึกษาแนวทางการจัดทำดัชนีชี้วัดเศรษฐกิจและสังคม ด้านดิจิทัล, (วปอ.8744)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางปิยนุช วุฒิสอน, (วปอ.8744)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2561
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง การศึกษาแนวทางการจัดทําดัชนีชี้วัดเศรษฐกิจและสังคมด"านดิจิทัล ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผู"วิจัย นางป'ยนุช วุฒิสอน หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๖๑ เอกสารวิจัยส วนบุคคลฉบับนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ นําเสนอแนวทางการจัดทําดัชนีชี้ วัดเศรษฐกิจและสังคมด&านดิจิทัลสําหรับใช&ประเมินความก&าวหน&าการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ สังคมในแง มุมต าง ๆ ด&วยทางเลือกใหม โดยทางเลือกใหม นี้ ใช&เกณฑ0แบ งตามลักษณะของวิธีการ จัดทําดัชนีฯ แบบป4จจุบันและแบบทางเลือกใหม และเกณฑ0แบ งตามแหล งข&อมูลแบ งเปนแหล งข&อมูล แบบทางการและแหล งข&อมูลทางเลือกใหม โดยการดําเนินการตั้งอยู บนพื้นฐานของแผนพัฒนาดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคมตามกรอบยุทธศาสตร0ชาติและการปฏิรูปประเทศ ทั้งนี้ เพื่อเสนอแนะการ จัดทําดัชนีฯ ที่เหมาะสมและนํามาประยุกต0ใช&เพื่อให&บรรลุเป8าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน หรือ Sustainable Development Goals ตามข&อตกลงวาระการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค0การ สหประชาชาติ แนวทางการปรับปรุงการดําเนินการจัดทําดัชนีเศรษฐกิจและสังคมด&านดิจิทัลที่มีอยู ใน ป4จจุบัน สามารถนําไปเสนอแนะหน วยงานที่มีหน&าที่ต&องรับผิดชอบการจัดทําดัชนีดังกล าวเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการติดตามความก&าวหน&าด&านดิจิทัลเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

abstract:

Abstract Title New Approach on Developing Indicators for Digital Economy and Society Field Economics Name Ms.Piyanuch Wuttisorn CourseNDCClass61 This qualitative research is aimed to propose the new approach on developing indicators for digital economy and society as the instrument to assess the development of digital economy and society in various aspects. This new approach uses the criteria of using the new/current methodology and using the new/current sources of data to justify the new way of developing indicators aligning the national digital economy and society plan and in line with the direction of the national 20- year strategies in order to obtain the appropriate indicators that help justify the development direction towards the Sustainable Development Goals according to the United Nations’ agreement on sustainable development. The approach on improving the current indicators of digital economy and society could recommend the relevant responsible party to enhance the efficiency on monitoring the progress on digitalization of Thai economy and society.