เรื่อง: การพัฒนารูปแบบระบบข้าราชการพลเรือนกลาโหม กรณีศึกษาโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า และโรงเรียนเตรียมทหาร, (วปอ.8742)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พ.อ.หญิงปริยนันทน์ จารุจินดา, (วปอ.8742)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การพัฒนารูปแบบระบบข้าราชการพลเรือนกลาโหม : กรณีศึกษา
โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าและโรงเรียนเตรียมทหาร
ลักษณะวิชา การทหาร
ผู้วิจัย พันเอกหญิง ปริยนันทน์ จารุจินดา หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๑
จากปัญหาการคับคั่งชั้นยศของผู้มีความช านาญเฉพาะทางของกระทรวงกลาโหม ท าให้
เกิดแนวคิดเรื่องเปลี่ยนระบบไปสู่ข้าราชการพลเรือนกลาโหม การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ศึกษาและทราบความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการน าระบบข้าราชการพลเรือนกลาโหมมาใช้
แทนระบบเดิม เพื่อหารูปแบบ (Model) ที่เหมาะสมของการจัดระบบข้าราชการพลเรือนกลาโหม
มีขอบเขตในการศึกษาคือใช้จ านวนประชากรคือก าลังพลของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า จ านวน
๓๑๑ คน และโรงเรียนเตรียมทหาร จ านวน ๑๘๘ คน รวมทั้งเพื่อศึกษาหาข้อมูลของการคุ้มครอง
สิทธิก าลังพลและหนทางการก้าวหน้าโดยเทียบกับข้อมูลข้าราชการพลเรือนสามัญ เป็นการวิจัย
เชิงคุณภาพ และใช้ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่แบบสอบถาม และการสัมภาษณ์มาสนับสนุนในการวิจัย
พร้อมน าเสนอโมเดลที่หลากหลายในการเปลี่ยนระบบ และการวิเคราะห์ข้อมูลรวมทั้งกฎหมายที่
ส าคัญด้านสิทธิก าลังพล ผลการศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง พบว่า การรับรู้นโยบายและสาระส าคัญของ
การเปลี่ยนระบบมีค่อนข้างน้อย พบว่ามีผู้เห็นด้วยประมาณ ๓๐% ไม่เห็นด้วย ๓๐% ไม่ตัดสินใจ
๔๐% แสดงถึงความไม่เข้าใจในระบบการเปลี่ยนผ่านในคนส่วนใหญ่ ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจ
เปลี่ยนสภาพเป็นข้าราชการพลเรือนกลาโหมคือ ความยืดหยุ่นของเงินเดือนตามแท่งสายงานมากที่สุด
ส่วนปัจจัยอื่น ๆ เช่น การลดภารกิจด้านการทหาร สิทธิประโยชน์ และการลดความคับคั่งของชั้นยศ
มีคะแนนเชิงบวกที่ไม่ต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ
ในเรื่องทัศนคติทั้งสองกลุ่มตัวอย่างมีความต้องการเป็นข้าราชการทหารอยู่ โดย
โรงเรียนเตรียมทหารมีเปอร์เซ็นต์ความต้องการมากกว่า รพ.พระมงกุฎเกล้า และมีความเชื่อมั่นระดับ
ปานกลางในหน่วยงานที่สังกัดถึงความพร้อมในการบริหารจัดการในการจัดระบบ
บทสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหาร มีความเห็นด้วยและให้การสนับสนุนในการบรรจุ
ข้าราชการพลเรือนกลาโหม และควรมีการปรับ อฉก. พร้อมกันไปด้วย ควรมีการก าหนดเป้าหมาย
เป็นระยะ เช่น รายไตรมาส ให้แต่ละหน่วยงานย่อยมีการท า Workshop ในส่วนโรงเรียนเตรียมทหาร
ควรมีพื้นที่ส่วนกลางในกระทรวงกลาโหมเพื่อการรองรับความก้าวหน้าสายอาชีพของอาจารย์และ
เจ้าหน้าที่ตามรูปแบบธรรมเนียมเดิมข
ในเรื่องของรูปแบบการจัดและความก้าวหน้าในสายงานอาชีพ (โมเดล) ควรเป็นรูปแบบ
โมเดลที่ ๒ หรือ ๔ กล่าวคือ การก าหนดอัตราต าแหน่ง โดยการผสมผสานเพิ่มพลเรือนกลาโหมจาก
อัตราเดิม และปรับยุบอัตราทหารบางอัตรา โดยอาจไม่ปรับหรือเปลี่ยนโครงสร้างหน่วย ผู้บริหาร
สูงสุดขององค์กรยังคงอัตราทหารอยู่ คือ ต าแหน่งผู้อ านวยการ รพ.พระมงกุฎเกล้า และผู้บัญชาการ
โรงเรียนเตรียมทหาร ในขณะเดียวกันการเติบโตสูงสุดในฝ่ายพลเรือนกลาโหมให้สามารถขึ้นได้ถึง
อัตรา พลตรีในส่วนของฝ่ายสนับสนุนหรือฝ่ายวิชาการ
ด้านสิทธิก าลังพล เช่น เงินเดือนและค่าตอบแทน พบว่า พ.ร.บ. และกฎกระทรวงต่าง ๆ
มีความเท่าเทียมกันไม่มีความแตกต่างระหว่างข้าราชการพลเรือนกลาโหมและข้าราชการพลเรือน
สามัญ
มีข้อเสนอแนะ คือ กระทรวงกลาโหมควรมีแนวนโยบายและขั้นตอนปฏิบัติตลอดจน
กรอบระยะเวลาในการเปลี่ยนผ่านสู่ระบบข้าราชการพลเรือนกลาโหมอย่างชัดเจน เพื่อให้เป็นไปตาม
แผนที่ก าหนดไว้ ทั้งนี้ให้มีการรับฟังความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่าง ๆ และเปรียบเทียบข้อดี
ข้อเสียให้ครอบคลุมทุกประเด็นส าหรับน าไปสู่การแก้ไขระเบียบการปฏิบัติอย่างจริงจัง เพื่อให้องค์กร
มีระบบธรรมาภิบาลที่ดี มีข้าราชการที่มีประสิทธิภาพ และให้มีระบบประเมินผลเพื่อการพัฒนา
เพิ่มขึ้น และข้อเสนอแนะในการท าวิจัยครั้งต่อไปคือ ควรมีการวิจัยส าหรับการเพิ่มหน่วยงาน
เป้าหมายต่อไปในการจะเปลี่ยนระบบข้าราชการกลาโหมพลเรือนกลาโหม หรือท า Pilot Study การ
ลองขั้นตอนการเปลี่ยนระบบดังกล่าว และเปรียบเทียบกฎหมาย ข้อบังคับ หรือระเบียบต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้องอย่างละเอียด
abstract:
Abstract
Title The Development of defence civil service system model :
Phramongkutklao Hospital and Arms Forces Academies
Preparatory School (AFAPS)
Field Military
Name Assoc Prof.Col. Pariyanan Jaruchinda Course NDC Class 61
From the problem about ranking congession of the expert of Ministry of
defence leading to a new idea about changing system to defence civil service. The
study is about knowing the opinion of the stakeholders in order to use the new
defence civil service system instead of the previous system. To find the right model of
rearranging the defence civil service system by using the study of Phramongkutklao
Hospital and AFAPS including the study of the right protection of the personnel
benefits and career path by compare with the data of civil service. Method of research
is by questionnaire and In-dept interview present varieties of models in changing
system and analyzing data also the important laws about the personnel benefits.
The result from the sample survey Phramongkutklao Hospital 311 persons
and AFAPS 188 persons revealed that the perception of policies and important
informations of system changing is quite poor agree 30% not agree 30% Don’t decide
40% can implied that the majority still don’t understand. Factor that is the most effect
to the system changing defence civil service is the flexible of salary by position
classification system while other factors, for example decreasing military duties,
privilege and decreasing ranking congession.
About Attitude, both sample survey groups still want to be a soldier. AFAPS
got higher percentage than Phramongkutklao Hospital and feel confident in the unit’s
management system at moderate level.
In-depth interview of admistrator, shows that they agreed and support in
the new system defence civil service should adjust table of distribution. along with
should set the the goals in periodically Example by quarter, for support the career
paths of teachers and officers in the same way.
Managing femn and career path got 4 models to choose the most chosen
is the second model, by integrate the defence civil service from the present and delete
some of the Military table of organization without changing the department structure. ง
Highest level admistrator of the department who still a sodier is director of
Phramongkutklao Hospital and AFAPS while the highest level in defence civil service
can be equivalent to Major General for the support or technical units.
For the personal benefits. Example salary and compensation found that
Act and ministry’s Law are equivalent between defence civil service and civil service.