เรื่อง: แนวทางการกระจายการถือครองที่ดินและเขาถึงทรัพยากรที่ดิน ผ่านทางการจัดซื้อที่ดินเอกชนเพื่อใช้ในการปฏิรูปที่ดิน เพื่อเกษตรกรรม:กรณีศึกษาจังหวัด ในลุ่มน้ำเจ้าพระยา, (วปอ.8740)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พ.จ.อ. ประเสริฐ มาลัย, (วปอ.8740)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง แนวทางการกระจายการถือครองที่ดินและเขาถึงทรัพยากรที่ดิน
ผานทางการจัดซื้อที่ดินเอกชนเพื่อใชในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม :
กรณีศึกษาจังหวัดในลุมน้ําเจาพระยา
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผูวิจัย พันจาเอก ประเสริฐ มาลัย หลักสูตร วปอ. รุนที่ 61
การวิจัยเรื่องนี้ เป3นงานวิจัยเชิงคุณภาพ ประเภทการวิจัยเชิงพรรณา โดยมีวัตถุประสงค6
เพื่อศึกษากระบวนการและขั้นตอนการจัดซื้อที่ดินเอกชนเพื่อใชในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมใน
ป8จจุบัน วิเคราะห6ป8จจัยภายในและป8จจัยภายนอกที่มีผลตอการจัดซื้อที่ดินเอกชน เพื่อเสนอแนวทาง
การจัดซื้อที่ดินเอกชนของสํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) เพื่อนํามาจัดใหแก
เกษตรกรที่ไรที่ดินทํากิน เป3นการกระจายการถือครองที่ดินและลดความเหลื่อมล้ําในการเขาถึง
ทรัพยากรที่ดิน ขอบเขตของการวิจัย เนนการศึกษาในพื้นที่จังหวัดในลุมน้ําเจาพระยาที่มีเขตปฏิรูปที่ดิน
จํานวน 12 จังหวัด การเก็บรวบรวมขอมูลทางทุติยภูมิ โดยการทบทวนเอกสารที่เกี่ยวของ และการเก็บ
รวบรวมทางปฐมภูมิ โดยการสัมภาษณ6เชิงลึกผูบริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ6 และการสอบถาม
ผูบริหารสวนภูมิภาค ไดแก ปฏิรูปที่ดินจังหวัดของจังหวัดกรณีศึกษา เพื่อนํามาวิเคราะห6ขอมูล
ตามหลักการวิเคราะห6 SWOT Analysis และ TOWS Matrix Analysis เพื่อการวางแผนเชิงยุทธศาสตร6
จากการศึกษาขอมูลทุติยภูมิ พบวา การจัดซื้อที่ดินเอกชนของ ส.ปก. ดําเนินการตาม
“ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม วาดวย หลักเกณฑ6และวิธีการจัดซื้อที่ดินเพื่อ
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2558” และการศึกษาขอมูลปฐมภูมิ พบวา ผูบริหารกระทรวง
เกษตรและสหกรณ6 มีแนวนโยบายให ส.ป.ก. เป3นกลไกในการกระจายการถือครองที่ดินแกเกษตรกร
โดยการแสวงหาที่ดินที่มีความเหมาะสมกับการทําการเกษตรเพื่อนํามาปฏิรูปที่ดิน และการใชกลไก
ดานภาษีในการสรางแรงจูงใจใหเจาของที่ดินรายใหญขายที่ดินใหกับ ส.ป.ก. รวมทั้งแนวนโยบาย
การบริหารจัดการของรัฐตอเกษตรกรรายยอยใหสามารถพึ่งพาตนเองอยางยั่งยืนดวยอาชีพเกษตรกรรม
จากการสํารวจขอมูล พบวา ป8จจัยสําคัญที่สงผลกระทบตอการจัดซื้อที่ดินเอกชนของ ส.ป.ก. แบงเป3น
ป8จจัยภายใน ไดแก ป8จจัยดานระเบียบกฎหมาย ดานขั้นตอนการดําเนินงาน ดานนโยบายขององค6กร
ดานบุคลากร ดานเงินทุน และป8จจัยภายนอก ไดแก ป8จจัยดานความตองการที่ดินของเกษตรกร
ดานความตองการขายของเจาของที่ดิน ดานนโยบายของรัฐ ดานราคาตลาดของที่ดิน และดานศักยภาพที่ดิน
ทั้งนี้ แนวทางการกระจายการถือครองที่ดินและเขาถึงทรัพยากรที่ดิน ผานทางการจัดซื้อที่ดินเอกชน
เพื่อใชในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม กรณีศึกษาจังหวัดในลุมน้ําเจาพระยา ควรดําเนินการตาม
ยุทธศาสตร6 “การพัฒนาแนวทางการจัดซื้อที่ดินเอกชนตลอดหวงโซ” ซึ่งประกอบดวย 4 กลยุทธ6 คือ
1) การปรับปรุงระเบียบกฎหมายและการกําหนดนโยบายเพื่อการพัฒนา 2) การเรงรัดการจัดซื้อที่ดิน
เอกชนดวยการจัดการเชิงรุก 3) การเพิ่มประสิทธิภาพการพิจารณาการจัดซื้อที่ดินเอกชน และ
4) การพัฒนาพื้นที่และการใชประโยชน6ที่ดินอยางมีประสิทธิภาพในที่ดินเอกชนที่จัดซื้อ
abstract:
Abstract
Title Approach of Land Tenure Distribution and Land Resource Access
through Private Land Purchase for Agricultural Land Reform
Purpose : Case Study of Provinces in Chao Phraya Basin
Field Social - Psychology
Name Mr. Prasert Malai Course NDC Class 61
This research is a qualitative descriptive research. Three main objectives consist to
study current private land purchase processes and procedures, to analyze internal and external
factors affecting to the purchase, and to propose appropriated private land purchasing approach
for the Agricultural Land Reform Office (ALRO). These purchased land could be allocated to
landless farmers, which increase land tenure distribution and reduce land access inequality.
The research was conducted in 12 provinces located in Chao Phraya basin and having land
reform area. For data collection, secondary data was collected from literature review.
Primary data was collected from two methods including in-depth interview of executive in
Ministry of Agriculture and Cooperatives (MOAC) and questionnaire for directors of the provincial
land reform office. The strategic planning was analyzed using SWOT and TOWS matrix.
From the study, ALRO’s private land purchase is implemented according to
“Regulations of the Agricultural Land Reform Executive Committee on Rules and Procedures
of Land Purchase for Agricultural Land Reform Purpose B.E. 2558”. From the in-depth
interview, the executive of MOAC gives ALRO an importance role of land tenure
distribution mechanism, by finding lands appropriated for agriculture to implement the
land reform process. Besides, land tax policy should be used as an incentive mechanism
for big landlord to sell their excess land for ALRO, as well as, the government policy to
support small-scale farmers to have sustainable self-sufficiency by agriculture. From the
survey, factors affecting ALRO’s private land purchase are twofold. Firstly, internal factors
include law and regulations, processes and procedures, organizational policies, human
resources and internal fund. Secondly, external factors comprise agricultural land demand
and supply, government policies, land price and potential. In conclusion, approach of
private land purchase should be applied with the strategy of “Holistic development of
ALRO’s private land purchase”, including 1) Law and regulations improvement and policy
for development, 2) Proactive management of private land purchase, 3) Efficiency
improvement on private land purchase determination, and 4) Purchased land area
development and land utilization efficiency improvement.