Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพงานก่อสร้างอาคารของสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลโท พรรณนพ ศักดิ์วงศ์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื อง แนวทางการเพิ มประสิทธิภาพงานก่อสร้างอาคารของสํานักงานปลัด กระทรวงกลาโหม ลักษณะวิชา การทหาร ผ้วิจัย ู พลโท พรรณนพ ศักดิ!วงศ์ หลักสูตร วปม. ร่นที ุ ๗ งานวิจัยฉบับนี*มุ่งเน้นศึกษาปัจจัยที มีอิทธิพลต่อความล่าช้าในงานก่อสร้างอาคาร ขนาดใหญ่สํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ที ทําให้ไม่สามารถส่งมอบงานได้ทันตามเวลา ที กาหนด ต้องมีการขอขยายเวลาในการก ํ ่อสร้าง และส่งผลกระทบต่อแผนงานของทางราชการ ซึ งโครงการก่อสร้างต่าง ๆ อยู่ในความรับผิดชอบของ สํานักงานสนับสนุ น สํานักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม โดยใช้หลักการวิจัยเชิงคุณภาพ ได้ทําการศึกษาทั*งลักษณะทัวไปและ ลักษณะเฉพาะของโครงการก่อสร้างอาคารขนาดใหญ่ ข้อกาหนดต ํ ่าง ๆ ที เกี ยวข้องกบโครงการ ั และงานก่อสร้าง ขอบเขตของงานก่อสร้างตามสัญญา ที มาของโครงการ รวมทั*งกลยุทธ และ วิธีการบริหารจัดการโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ที นํามาใช้กบโครงการนี ั * รวมทั*งปัญหาอื น ๆ ที อาจ มีผลกระทบต่อโครงการ โดยดําเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็ น ๒ ส่วน คือ ข้อมูลปฐมภูมิ(Primary Data) และข้อมูลทุติภูมิ(Secondary Data) กลุ่มตัวอย่างที ใช้ในการสัมภาษณ์ มีด้วยกน ๒ กลุ ั ่ม คือ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานของสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ที มีบทบาทสําคัญและเก ี ยวข้องต่อ โครงการก่อสร้าง และ กลุ่มผู้แทนของหน่วยงานอื น ๆ ที เกี ยวข้อง (ผู้แทนบริษัทรับเหมาก่อสร้าง , ผู้แทนหน่วยงานสาธารณูปโภค) ผลการวิจัยทําให้ทราบ และเข้าใจถึงปัญหาที ทําให้มีอิทธิพลต่อความล่าช้าในงาน ก่อสร้างอาคารสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ซึ งผู้วิจัยแบ่งเป็ น ๓ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มแรกเป็ น ปัญหาความล่าช้าที เกิดจากการออกแบบ มีแนวทางการเพิ มประสิทธิภาพ โดยการวางแผนเพื อให้มี เวลาเพียงพอในการออกแบบ การบรรจุบุคลากรให้ตรงกบความต้องการของหน ั ่วยและเพิ มพูนความรู้ ของบุคลากร การจ้างบริษัทที มีความชํานาญ ประสบการณ์มาช่วยในการออกแบบ กลุ่มที สองปัญหา ที เกิดจากการบริหารโครงการ มีแนวทางการเพิ มประสิทธิภาพ โดยการคัดเลือกบุคลากรที มีความรู้ ด้านงานก่อสร้างของหน่วย เป็ นคณะกรรมการตรวจการจ้าง และคณะผู้ควบคุมงาน การเขียนข้อกาหนด ํ เงื อนไขต่าง ๆ ที เกี ยวกบงานก ั ่อสร้าง ให้มีความรัดกุม และกลุ่มที สาม เป็ นปัญหาที เกิดจากปัจจัย ภายนอก ซึ งไม่สามารถแกไขได้ เนื องจากเป็ นปัจจัยที ไม ้ ่สามารถควบคุมได้

abstract:

ABSTRACT Title Optimisation approach for the construction of the Office of the Permanent Secretary for Defence. Fild Military Name Lieutenant General Pannob Sakwong Course NDC (SPP) Class 7 This research focuses on: the factors that influenced delays in the construction of the Office of the Permanent Secretary for Defence building. The construction project is the responsibility of the Office of the Permanent Secretary for Defence. Qualitative research was used in this report. Both primary data and secondary data was collected. The samples used in the interview include two groups of representatives from the Office of Permanent Secretary for Defence, those who perform important roles related to this construction project and representatives of contractor and representatives of the public utility organisations. The results of the research demonstrates and explain the issues that influenced delays inthe construction of the office of the Permanent Secretary of Defence building. The study was divided into three problems. The first problem covers the delays caused by the design of the building. The optimisation approach recommends: planning to allow sufficient time to complete the building; selecting personnel who have the appropriate skills; and out sourcing to a company with the relevant expertise and experience to assist in its design. The second problem concerns the problems caused by the project management. The optimisation approach recommends selecting personnel who have knowledge about construction to be monitor projects and to ensure legal conditions are met. And the last problem is external factors which cannot be resolved as they cannot be controlled.