เรื่อง: แนวทางของกองทัพเรือในการจัดการภัยพิบัติทางทะเล, (วปอ.8735)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติยุทธศาสตร์/Strategy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, น.อ.ประชา สว่างแจ้ง, (วปอ.8735)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางของกองทัพเรือในการจัดการภัยพิบัติทางทะเล
ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์ (Strategy)
ผู้วิจัย นาวาเอก ประชา สว่างแจ้ง หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๑
สภาวะของโลกในปัจจุบันนี้มนุษย์ได้พบกับมหันตภัยจากภัยธรรมชาติ จากภัยที่มนุษย์
สร้างขึ้น หรือการเกิดอุบัติเหตุ กองทัพเรือจึงได้ตั้งศูนย์บรรเทาสาธารณภัยกองทัพเรือ ปฏิบัติหน้าที่
เป็นศูนย์บรรเทาสาธารณภัยกองทัพเรือ มี ภารกิจ ป้องกัน แก้ไข บรรเทา และช่วยเหลือผู้ประสบ
ภัยพิบัติและสาธารณภัยในพื้นที่รับผิดชอบของ ทร. หรือพื้นที่อื่น ๆ ตามที่ ทร.มอบหมายส าหรับการ
วิจัยโดยมีวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาสภาพทั่วไป เพื่อศึกษาสภาพปัญหาข้อขัดข้องที่ส าคัญใน
การจัดการภัยพิบัติทางทะเล ผลกระทบที่เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบของกองทัพเรือ เพื่อน ามาก าหนด
เป็นแนวทางในการป้องกันและบรรเทาสาธารณะภัยต่อการแก้ปัญหาภัยพิบัติในทะเลและการปฏิบัติการ
ของกองทัพเรือในอนาคต ผลการวิจัย โดยสรุปคือประเทศไทยและหน่วยงานต่าง ๆ มีแผนป้องกันภัย
เรียบร้อย โดยมียุทธศาสตร์ที่ มุ่งเน้นการลดความเสี่ยงสาธารณภัย ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การบูรณาการใน
ภาวะฉุกเฉิน ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การเพิ่มประสิทธิภาพการฟื้นฟูอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การ
เสริมสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ ในการจัดการความเสี่ยงสาธารณภัยส าหรับสภาพปัญหา
ข้อขัดข้องที่ส าคัญ ในการจัดการภัยพิบัติทางทะเลที่พบ ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ สาธารณะภัยในทะเลมี
แนวโน้มเกิดขึ้นบ่อยและมีความรุนแรง ที่ส่งผลกระทบต่อความปลอดภัยของประชาชนในวงกว้างและ
ยากที่จะจัดการได้เพียงหน่วยงานใดเพียงหน่วยเดียว ปัญหาการฝึกร่วมขนาดใหญ่ โดยเฉพาะทาง
ทะเล ความรับผิดชอบที่เกี่ยวข้องในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในทะเล มีหลายหน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง ซึ่งต่างก็มีก าลังทางเรือ นโยบาย แผนปฏิบัติต่างกันออกไป การพัฒนาขีดความสามารถของ
ศูนย์ประสานการปฏิบัติในการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล (ศรชล.) ท าให้ประเทศไทยมีความ
จ าเป็นต้องมีหน่วยงานเจ้าภาพเพื่อท าหน้าที่บูรณาการภารกิจและทรัพยากรเพื่อให้การป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัยในทะเล เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการพัฒนาเสริมสร้างขีดความสามารถ
ของ ศรชล. อย่างเป็นรูปธรรม งบประมาณและก าลังทางเรือและอุปกรณ์ของหน่วยงานต่าง ๆ มีอยู่
อย่างจ ากัดไม่เพียงพอต่อปริมาณงานที่ต้องด าเนินการ ขาดการส่งเสริมและพัฒนา อันกระทบต่อ
ประสิทธิภาพในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในทะเล และเป็นข้อจ ากัดที่ส าคัญในการพัฒนา
ศักยภาพของหน่วยงานต่างๆภารกิจของหน่วยงานต่าง ๆ มีความซ้ าซ้อนขาดการบูรณาการ ท าให้ขาด
ประสิทธิภาพในการรับมือกับสถานการณ์สาธารณภัยทางทะเลต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น รวมไปถึงความไม่
ชัดเจนของขอบเขตอ านาจตามกฎหมายของหน่วยงานต่าง ๆ ยังคงเป็นอุปสรรคที่ส าคัญในการข
ปฏิบัติงานและด าเนินการตามแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติอีกด้วย ข้อเสนอแนะ
ทร. ควรก าหนดเรื่องการให้ความช่วยเหลือภัยพิบัติในทะเลไว้ในแนวทางของ ทร. หรือก าหนดไว้ใน
แผนปฏิบัติราชการโดยมีการจัดหายุทโธปกรณ์เครื่องมือที่มีความเหมาะสมการจัดการฝึกแบบบูรณาการ
เป็นประจ าทุกปีประสิทธิภาพส่งผลต่อภาพลักษณ์ความเชื่อถือความเชื่อมั่นของประชาชนต่อกองทัพ
ตลอดไป
abstract:
-1-
ABSTRACT
Title The Royal Thai Navy solutions to manage maritime disasters.
Field Strategy
Name Capt. Pracha Sawangjang Course NDC Class 61
Nowadays, several disasters frequently occur in the world, either from a
natural disaster or human-caused disasters.Royal Thai Navy established the Royal Thai
Navy Disaster Prevention and Mitigation Center that has missions of preventing, repairing,
helping, and recovering the victims in RTN responsive areas.Therefore, there are three main
objectives of this research: first is to study the general disaster, second is to study the
principal problems from maritime disaster and the effect of responsibility of RTN, and last is
to apply the process to protect and recover from maritime disaster under RTN
responsibility.The scope of this research consists of three parts, contents, interviewees, and
duration.The scope of content consists of the maritime disaster, responsive departments,
laws, principal problems, and process of actions in other countries. The scope of
interviewees, the researcher interviewed 15 people who had helped from the disaster,
people who worked and planed for the disaster recovery. The scope of duration, this
research has been done during October and November 2019. Methods of the search are
qualitative research. The researcher collected primary data and secondary data, then
depth-analyzed the content. The summarize of this research, many organizations in
Thailand have plans to prevent and recover the disaster with four core strategics. First
strategic focuses on reducing the risk disaster. Second is to integrate the emergency. The
third is to increase the efficiency of restoring and recovery.The last is to reinforce
cooperation to manage the disaster risk among the countries. The problem of maritime
disaster is it could occur more frequent and effect to populations in large areas which are
difficult to cope with for just one organization. Another obstacle is the training between
maritime-related organizations. Each organization has policies and plans itself. To improve
the ability of the Thai Maritime Enforcement Command Center (THAIMECC), Thailand needs
a leader organization to prevent and relief maritime disaster by integrate performance the
roles and manage resources. Moreover, THAIMECC should focus on its potential because it 2
lacks budgeting, forces, and equipment to support the need. Lacking supporting and
developing, the most important would cause the potential of the preventing and relief
maritime disaster. Each of the organization objectives is repeating, require to improve, and
unclear of the limitation of organization laws. All of these have been obstacles to operate
the nation prevent and relief disaster plan. Theory suggestions:1. Training to cope with the
disaster at the national level. We divide the training into regions. For example, the north
and middle region train for a great flood, south region trains for a storm like Tsunamis.
Therefore, they can cope with real situations. 2. Checking limit of the potential of the
organization every year by practice the simulation for every level of every corporate-related
the organizations. Action suggestions: 1. we need to ensure the potential of the
organizations in the risk areas, especially the Gulf of Thailand and Andaman sea. 2 . We
should launch the meeting to exchange knowledge among the organizations both in
Thailand and other countries. So we will increase the potential to apply for uncommon
situations in different areas.