Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการบูรณาการการช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ ของกองทัพไทยในยุคดิจิทัล, (วปอ.8730)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พล.ร.ต.เบญญา นาวานุเคราะห์, (วปอ.8730)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2561
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการบูรณาการการช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติของ กองทัพไทยในยุคดิจิทัล ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วิจัย พลเรือตรี เบญญา นาวานุเคราะห์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๑ การศึกษาครั้งมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) เพื่อศึกษา วิเคราะห์ การบูรณาการกองทัพ ไทยในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ ๒) เพื่อศึกษาหาแนวทางในการบูรณาการของกองทัพไทย ในการช่วยเหลือผู้ที่ประสบภัยพิบัติให้สอดคล้องกับพื้นที่และประชาชนที่ได้รับความเดือนร้อน ๓) เพื่อศึกษาถึงแนวทางการน าเครื่องมือในยุคดิจิทัลมาใช้ในการบูรณาการของกองทัพไทย วิธีด าเนินการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การรวบรวมข้อมูล จากต ารา และ เอกสารต่างๆ ด าเนินการสัมภาษณ์เชิงลึกของนักวิชาการ และผู้มีประสบการณ์ด้านการช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยพิบัติน าข้อมูลที่ได้มาท าการวิเคราะห์ เพื่อจัดท าข้อเสนอแนะแนวทางการปูองกันและ บรรเทาสาธารณภัยของกองทัพตลอดจนการน าเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ในการบูรณาการข้อมูล ร่วมกันระหว่างกองทัพละหน่วยงานภายนอก ผลการวิจัยพบว่า ทั้งกองทัพไทยและฝุายพลเรือน รวมไปถึงในระดับรัฐบาลต่างก็มีแผน และโครงสร้างในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ โดยได้มีการปรับปรุงและพัฒนาขึ้นมาตามล าดับ แต่ยังขาดการบูรณาการร่วมกัน การบูรณาการของกองทัพไทยในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติทั้งใน ยามปกติขณะเกิดภัยพิบัติและการฟื้นฟูภายหลังจากการเกิดภัยพิบัติ ควรจะมีการให้ความส าคัญของการ ขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติเพื่อลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติอย่างบูรณาการด้วยข้อจ ากัดต่างๆ การลดความ เสี่ยงจากการเกิดภัยพิบัติไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนนั้นจะเป็นที่จะต้องบูรณาการในทุกภาคส่วนตั้งแต่ ในยามปกติ โดยเฉพาะกองทัพไทยเป็นหน่วยที่มีก าลังพลที่ตั้งของหน่วยอยู่ใน ทุกพื้นที่ของ ประเทศไทย ควรที่จะเป็นหน่วยงานหลักในการร่วมบูรณาการกับหน่วยในภาครัฐและเอกชน โดยเริ่มท าตั้งแต่ในยามปกติ มีการเตรียมการล่วงหน้า โดยเฉพาะพื้นที่ที่เกิดภัยพิบัติซ้ าซากโดยกองทัพไทย มีการบูรณาการในการจัดเก็บข้อมูลในเรื่องต่างๆ ให้ครอบคลุม และมีการบูรณาการในการฝึกช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยพิบัติระหว่างกองทัพ ฝึกร่วมกับหน่วยบรรเทาสาธารณภัยฝุายพลเรือนฝึกร่วมกับกองทัพ มิตรประเทศอย่างจริงจังและต่อเนื่อง และให้ประชาชนในพื้นที่มีส่วนร่วมในการฝึกด้วย และกองทัพ ควรมีการบูรณาการข้อมูลกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลในทุกขั้นตอนของการ บรรเทาสาธารณภัย

abstract:

Abstract Title Integrated approach of the Thai military in the digital age to help the victims. Field Social - Psychology Name Rear Admiral Benya Navanugraha Couse NDC Class 61 This study has the following objectives 1) to study the integrated approach of the Thai military to help the victims. 2) To find ways to integrate the Thai Army in helping those affected by the disaster following the areas and people affected. 3) To study how to use tools in the digital age to be used in the integration of the Thai army. This research is qualitative. Using data collection by document research method and In-depth interview of academics and those with experience in helping disaster victims. Take the data that has been analyzed to make recommendations for disaster prevention and mitigation of the Thai army. And use digital technology to integrate information between the armed forces and other external agencies. The study shows the Thai army and the civilian Including at the government level have plans to help disaster victims that has been improved and developed respectively but still lacking integration. The integration of the Thai army in helping the disaster victims in normal times, when disaster strikes and rehabilitation after the disaster there should be a focus of driving into action to reduce the risk of disaster. Reducing the risk of disaster to sustainable development that necessary to be integrated with all sectors, from normal times. In particular, a Thai army is a unit that has the troops at the location of the unit in all areas of Thailand that should be the primary unit for joint integration with public and private agencies by starting from the normal time with advance arrangements especially the area that has been repeatedly plagued. The Thai army should have integrated into the collection of information on various matters to cover. And integrated into disaster relief training between the armed forces and seriously continuous Training with the civil disaster relief unit and allow people in the area to participate in the training as well. Thai army should have integrated information with other relevant agencies through digital technology in all phases of disaster relief.