Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ความเหมาะสมของการดําเนินธุรกิจแบบใหมของธุรกิจบำรุงรักษาโรงไฟฟาการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยตามแนวคิด การดำเนินธุรกิจแบบ Uberization, (วปอ.8729)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายบุญญนิตย์ วงศ์รักมิตร, (วปอ.8729)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2561
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง ความเหมาะสมของการดําเนินธุรกิจแบบใหมของธุรกิจบํารุงรักษาโรงไฟฟา การไฟฟาฝ!ายผลิตแหงประเทศไทยตามแนวคิดการดําเนินธุรกิจแบบ Uberization ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผูวิจัย นายบุญญนิตย5 วงศ5รักมิตร หลักสูตร วปอ. รุนที่ 61 จากแนวคิดตามแผนยุทธศาสตร5ชาติ 20 ป< แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และยุทธศาสตร5กระทรวงพลังงาน ได?มุงเน?นในเรื่องการในการสร?างและใช?เทคโนโลยีและนวัตกรรม การเพิ่มศักยภาพให?สามารถตอยอดสูอุตสาหกรรมแหงอนาคตที่ใช?เทคโนโลยีสมัยใหมรวมทั้งการ พัฒนาระบบการบริหารจัดการ บูรณาการ และเชื่อมโยงข?อมูลเพื่อนําไปใช?ประโยชน5 จึงเกิดแนวคิดใน การศึกษาวิจัยการศึกษาวิจัยเรื่อง ความเหมาะสมของการดําเนินธุรกิจแบบใหมของธุรกิจบํารุงรักษา โรงไฟฟาตามแนวคิดการดําเนินธุรกิจแบบ Uberization ซึ่งเปJนการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค5 ในการศึกษารูปแบบการดําเนินธุรกิจแบบใหมของธุรกิจบํารุงรักษาโรงไฟฟา กฟผ. โดยใช?การศึกษา รูปแบบตาม Business Model Canvas 9 ด?าน ผลการศึกษาพบวาควรให?บริการผานแอพพลิเคชั่น โดยมีขอบเขตการให?บริการบํารุงรักษาเฉพาะอุปกรณ5เสริมในโรงไฟฟา และจากการสุมสอบถามความ คิดเห็นของกลุมเปาหมาย พบวามีความสนใจและมีความเปJนไปได?ในการแนะนําผู?อื่นมาใช?บริการ อยางไรก็ตามงานวิจัยนี้เปJนการศึกษาในเบื้องต?น ยังต?องศึกษาความเปJนไปได?และความเหมาะสมเชิง ลึก วิเคราะห5ผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบ รวมทั้งผลกระทบด?านอื่นๆทั้งนี้จากการศึกษาเบื้องต?น ของงานวิจัยเห็นวาในอนาคต กฟผ. สามารถนํารูปแบบการดําเนินธุรกิจแบบใหมพร?อมด?วย ข?อเสนอแนะเพิ่มเติมจากลูกค?าไปใช?ประโยชน5ในกระบวนการออกแบบ การพัฒนาระบบฐานข?อมูล ระบบประมวลผลอัจฉริยะ และแอพพลิเคชั่นเพื่อประโยชน5ในการดําเนินธุรกิจงานบํารุงรักษาของ กฟผ. ตอไป

abstract:

Abstract Title The Study of Appropriation of New Business Model in Power Plant Maintenance Business of Electricity Generating Authority of Thailand Field Economics Name Mr. Boonyanit Wongrukmit Course NDC Class 61 According to the 20-Year National Strategy, the National Economic and Social Development Plan and the Ministry of Energy Strategy, these strategies emphasize on initiating and implementing technology and innovation, increasing potentials to step up to the industry of the future with new technologies, and developing the database management system, integrating and connecting data for further usage. Therefore, this qualitative research was conducted to find the appropriation of applying uberization business model to power plant maintenance business of Electricity Generating Authority of Thailand. The aim of this study was to examine the new business model by using the 9 Building Canvas of a Business Model. The findings indicated that mobile application should be used in maintenance service for auxiliary equipment only. In addition, the result from interviewing the target group shows that they are interested in using this service and tend to suggest others to join. However, this is a primary research which need to investigatefurther on the feasibility in details and to analyse the positive and negative impacts as well as other effects. For further study, this new business model along with customer suggestions can be used in order to develop database system, intelligent processing system, and mobile application which will benefit thepower plant maintenance business of Electricity Generating Authority of Thailand in the future.