Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลสารสนเทศนิติบัญญัติด้านประชาคมอาเซียน

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง พรพิศ เพชรเจริญ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรืÉอง แนวทางการจดั ตÊงัศูนยข ์ อ ้ มูลสารสนเทศนิติบญั ญตัิดา ้ นประชาคมอาเซียน ลกัษณะวชิา การเมือง ผ ู้วจิัย นางพรพิศ เพชรเจริญ หลกัสูตร วปม. รุ่นทÉี๗ ประเทศไทยในฐานะสมาชิกอาเซียนมีกาํหนดการเขา้สู่ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. ๒๕๕๘ เพืÉอเป็ นการปรับตัวให้ทนั ต่อความเปลÉียนแปลงดังกล่าว รัฐสภาในฐานะองค์กรนิติบัญญัติมีความ จาํ เป็นตอ้งมีฐานขอ้ มูลสารสนเทศหรือศูนยข์อ้ มูลสารสนเทศนิติบญั ญตัิดา้นประชาคมอาเซียน ในการ รองรับการปฏิบตัิหนา้ทีÉของรัฐสภา ให้ดาํ เนินการเป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ จึงไดม้ีการศึกษาแนวทาง และปัจจยัทีÉส่งผลต่อการจดั ตÊงศูนย์ ั ขอ้ มูลสารสนเทศนิติบญั ญตัิดา้นประชาคมอาเซียน เพืÉอสนบั สนุน การปฏิบตัิหน้าทีÉของรัฐสภา ทัÊงนีÊไดก้ าํ หนดขอบเขตการวิจยั คือดาํ เนินการศึกษาขอ้ มูลสารสนเทศ ดา้นประชาคมอาเซียนทีÉเกÉียวขอ้งกบัอาํ นาจหน้าทีÉของสถาบนั นิติบญั ญตัิแลว้นาํขอ้ มูลสารสนเทศทีÉ ไดม้ าศึกษาและวิเคราะห์ดว้ยวิธีการวิจยัเชิงคุณภาพซึÉงประกอบดว้ยการรวบรวมเอกสารขอ้ มูลทÉีเป็ น เอกสารทุติยภูมิ (Secondary source) เช่น บทความ หนังสือ เป็นต้น และการวิเคราะห์เอกสาร (Documentary research) การวิเคราะห์ข้อมูลเชิ งพรรณ นา (Descriptive analysis) ทีÉเป็ นการศึกษา แนวคิดทฤษฎีทีÉเกÉียวขอ้ง และศึกษาการจดั ตÊงัหน่วยงานเฉพาะสําหรับดูแลงานดา้นอาเซียน (ASEAN Unit) ของหน่วยงานต่าง ๆ นอกจากนัÊนยงัไดส้ ัมภาษณ์ผูท้ รงคุณวุฒิเพÉือนาํ มาประมวลผลร่วมกบัการ วเิคราะห์เอกสาร โดยผลการวิจยัเชิงเอกสารพบว่า ปัจจยัทÉีส่งผลต่อการจดัตÊงัศูนยข์อ้ มูลสารสนเทศนิติ บญั ญตัิด้านประชาคมอาเซียน แบ่งได้เป็น ๒ ส่วน ส่วนทÉี๑ ปัจจยัภายในองค์กร ประกอบด้วย ๑) ยุทธศาสตร์องค์กร ๒) งบประมาณ ๓) ทรัพยากรสารสนเทศ และ ๔) บุคลากร สําหรับส่วนทีÉ ๒ ปัจจยัภายนอกองค์กร ประกอบดว้ย ๑) เงืÉอนเวลาการเขา้สู่ประชาคมอาเซียน ๒) มติคณะรัฐมนตรีเมืÉอ วนั ทÉี๒๐ มิถุนายน ๒๕๕๔ ๓) ยุทธศาสตร์ประเทศ(รวมยทุ ธศาสตร์การเขา้สู่ประชาคมอาเซียน) และ ๔)ยุทธศาสตร์การพฒั นาระบบราชการไทย (พ.ศ. ๒๕๕๖–พ.ศ. ๒๕๖๑) สําหรับผลการวิจยัทีÉได้รับ จากการสัมภาษณ์พบว่า การจดั ตÊงัศูนยข์ ้อมูลสารสนเทศนิติบญั ญัติด้านประชาคมอาเซียนจะต้อง กาํหนดเป้าหมายวตัถุประสงคห์ ลกัของหน่วยงาน และขอบข่ายอาํนาจหนา้ทีÉของหน่วยงานอยา่ งชดัเจน ทัÊงนีÊให้คาํนึงถึงการใช้ประโยชน์กบัการสร้างความสัมพนัธ์เชิงทวิภาคีกบักลุ่มประชาคมอาเซียน ทีÉอยู่ ในรูปแบบกลุ่มมิตรภาพสมาชิกรัฐสภาไทยกับรัฐสภาประเทศต่าง ๆ ด้วย อีกทÊังเป็นหน่วยงาน สนับสนุนข้อมูลแก่สมาชิกรัฐสภาในการเผยแพร่ข้อมูลและความรู้ด้านอาเซียนไปยงัชุมชนหรือ ประชาชนในพืÊนทีÉ พร้อมกนั นÊีได้เสนอให้มีการจดั ตÊงัศูนยข์อ้ มูลสารสนเทศนิติบญั ญตัิดา้นประชาคม อาเซียน โดยมีอาํ นาจหน้าทÉีทีÉสําคัญดังนีÊคือ ๑) การบริหารจัดการทัÉวไป ๒) การรวบรวมข้อมูล สารสนเทศ ๓)การจาํแนกขอ้ มูลสารสนเทศ ๔)การปรับปรุงและพฒั นาขอ้ มูลสารสนเทศ ๕)การ เผยแพร่ขอ้มูลสารสนเทศ ๖)การใหบ้ ริการขอ้มูลสารสนเทศ และ ๗)การบาํรุงรักษาขอ้มูลสารสนเทศ

abstract:

Abstract Title A Study of the Establishment of ASEAN Community Legislative Data and Information Center for the National Assembly Field Politics Name Mrs. Pornpith Petchareon Course NDC (SPP) Class 7 After ASEAN Community (AC) will be reached in 2015 so Thai’s National Assembly as a legislative organization need to adjust itself under changing context. The objectives of research are studying factors and way to establish of ASEAN Community Data and Information Center for the National Assembly to support activities of members of parliament with efficiency. The scope of research is studying data in various fields of ASEAN Community which is involved with authority and function of national assembly and analyzing by qualitative research method composes of collecting data such as articles books etc., descripting analyzing in theory concept and studying specific unit like ASEAN unit of government offices. Moreover, by interview experienced person for jointly document analysis. The documentary research result is factors are affected to establish of legislative information center in ASEAN Community sector can divide 1) internal factors are (1) organization strategy (2) budget (3) information resources and (4) officers 2) external factors are (1) period of time to reach to ASEAN Community (2) The Council of Ministers resolution on 20th June 2011 (3) country strategy (including reaching to ASEAN Community strategy) and (4) The Strategic Development Plan for Thai Bureaucratic System (2013-2018). The interview result is the establishment of ASEAN Community Legislative Data and Information Center for the National Assembly should set main objectives, authority and function clearly. In addition, it should consider of benefit from bilateralness relationship with ASEAN Community in parliamentary friendship groups between Thai National Assembly and other parliaments. Also, it should be data supporting unit for members of parliament to disseminate ASEAN data to people in area. The establishment of ASEAN Community Legislative Data and Information Center for the National Assembly should have authority and function; 1) administrative management 2) information data collecting 3) to categorize 4) to adjust and develop 5) to publicize 6) information service and 7) to maintain data.