Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การปฏิรูประบบการคุ้มครองและส่งเสริม สินค้าสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร์ของไทย, (วปอ.8725)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาวนุศรา กาญจนกุล, (วปอ.8725)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2561
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

- ก - บทคัดยอ เรื่อง การปฏิรูประบบการคุมครองและสงเสริมสินคาสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร#ของไทย ลักษณะวิชาการเศรษฐกิจ ผูวิจัย นางสาวนุสรา กาญจนกูล หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๖๑ สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (Geographical Indication: GI)เป(นต*นทุนทางป,ญญาของคนใน ชุมชนซึ่งสามารถนํามาพัฒนาตอยอดเพื่อเพิ่มความสามารถในการแขงขันของประเทศ ถึงแม*วา ประเทศไทยจะได*กําหนดยุทธศาสตรชาติและรัฐบาลจะมีนโยบายที่ให*ความสําคัญตอสิ่งบงชี้ทาง ภูมิศาสตร โดยเฉพาะอยางยิ่งสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรที่เป(นสินค*าเกษตรในฐานะที่เป(นเกษตรสร*างมูลคา อยางไรก็ดีหากพิจารณาจากสถานการณในป,จจุบัน จะพบวาการคุ*มครองและสงเสริมสินค*าสิ่งบงชี้ทาง ภูมิศาสตรของไทยยังมีป,ญหาหลายด*าน ได*แก ด*านการผลิตและการควบคุมคุณภาพสินค*า การสงเสริม การตลาดภายในประเทศและตลาดตางประเทศการเพิ่มมูลคาให*กับสินค*า ป,ญหากลไกทางกฎหมายที่ เกี่ยวข*องกับการคุ*มครองสินค*าสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรยังขาดความชัดเจน การนําชื่อสินค*าสิ่งบงชี้ทาง ภูมิศาสตรไปจดทะเบียนชื่อโดเมนโดยไมชอบ และการบังคับใช*สิทธิที่เกี่ยวข*องกับสิ่งบงชี้ทาง ภูมิศาสตร งานวิจัยฉบับนี้จึงมุงศึกษา วิเคราะหและเสนอแนะแนวทางการแก*ไขป,ญหาเพื่อเสริมสร*าง ความเข*มแข็งให*แกระบบการคุ*มครองและสงเสริมสินค*าสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรของไทย ซึ่งตอบรับและ สอดคล*องกับยุทธศาสตรและนโยบายของประเทศด*านสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร ทั้งนี้ จากการศึกษา พบวา เพื่อปฏิรูประบบการคุ*มครองและสงเสริมสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร ประเทศไทยจําเป(นต*อง ดําเนินการ ดังนี้ ๑. ปรับปรุงด*านการผลิตโดยนําเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช*เพื่อสงเสริมการผลิต ๒. จัดให*มีกลไกและระบบควบคุมตรวจสอบคุณภาพสินค*าที่ได*มาตรฐานสากล ๓. สงเสริมการตลาดภายในประเทศและตางประเทศและดําเนินกลยุทธเพิ่มมูลคาให*กับ สินค*า โดยวางจุดยืนทําให*เป(นสินค*าคุณภาพที่มีอัตลักษณแตกตางไปจากสินค*าชุมชนประเภทอื่นๆ นอกจากนี้ สนับสนุนให*มีการติดตราสัญลักษณสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรไทยกับตัวสินค*า เพื่อสร*างความ มั่นใจให*แกผู*บริโภควาได*ซื้อสินค*าดี มีคุณภาพ และได*มาตรฐาน ๔. ปรับปรุงกลไกทางกฎหมายเพื่อเสริมสร*างประสิทธิภาพให*แกระบบการคุ*มครอง สินค*าสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร - ข - ๕. กําหนดไว*เป(นการเฉพาะในกฎหมายให*การนําชื่อสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรไปแสวงหา ประโยชนในเชิงพาณิชยโดยไมสุจริตซึ่งรวมถึงการนําไปจดชื่อโดเมนเป(นความผิด และสนับสนุนให*มี การจัดทําข*อตกลงระหวางประเทศที่เกี่ยวข*องกับการคุ*มครองสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรในระบบชื่อโดเมน ๖. ปรับปรุงด*านการบังคับใช*สิทธิโดยเสริมสร*างความรู*ความเข*าใจเกี่ยวกับสิ่งบงชี้ทาง ภูมิศาสตรให*แกหนวยงานด*านการบังคับใช*สิทธิ และปรับปรุงมาตรการผานพรมแดนเพื่อปVองกันการ นําเข*า-สงออกสินค*าละเมิดสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร งานวิจัยฉบับนี้นําเสนอข*อเสนอแนะเชิงนโยบายและการดําเนินการเพื่อปฏิรูปการ คุ*มครองและสงเสริมสินค*าสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ในระยะสั้น หนวยงานของรัฐในหวงโซมูลคาของสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร จําเป(นต*อง พิจารณาทบทวนการดําเนินการที่มีอยูให*ทันสมัยและสอดคล*องกับยุทธศาสตรนโยบาย และกฎหมาย ที่เกี่ยวข*องรวมทั้งบูรณาการและประสานความรวมมืออยางใกล*ชิดระหวางกันกับทั้งผู*ประกอบการ และชุมชนท*องถิ่นที่เป(นแหลงผลิตสินค*าสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร นอกจากนี้ จัดให*มีหนวยงานกลางที่ทํา หน*าที่กํากับดูแล สงวนรักษา และปกปVองสิทธิของชุมชน เพื่อปVองกันไมให*มีการนําสิ่งบงชี้ทาง ภูมิศาสตรไปใช*โดยไมชอบด*านการบังคับใช*กฎหมาย ประเทศไทยต*องผลักดันในเวทีการเจรจาการค*า ทั้งกับประเทศคูค*าและในเวทีองคการการค*าโลก (WTO)และองคการทรัพยสินทางป,ญญาโลก (WIPO)อยางตอเนื่อง เพื่อให*มีมาตรการบังคับใช*สิทธิในระดับสากลที่สามารถดําเนินคดีกับผู*ที่ลักลอบ นําสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรไปใช* ด*านการทองเที่ยว ควรเชื่อมโยงแหลงทองเที่ยวกับสินค*าสิ่งบงชี้ทาง ภูมิศาสตรที่มีแหลงผลิตเป(นแหลงทองเที่ยวเชิงธรรมชาติและเชิงการเรียนรู*ที่มีศักยภาพนอกจากนี้ สงเสริมให*มีการอนุรักษสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรในท*องถิ่น และสร*างความตระหนักรู*ให*แกชุมชนซึ่งเป(น เจ*าของสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร ถึงความจําเป(นในการถายทอดองคความรู*และภูมิป,ญญาที่เกี่ยวข*องกับ สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรให*สืบทอดตอไป ในระยะยาว หนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวข*องจําเป(นต*องสงเสริมให*คนไทยมีความรู*ความ เข*าใจเกี่ยวกับสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะความสําคัญในฐานะที่เป(นกลไกที่จะชวย กระตุ*นการเติบโตทางเศรษฐกิจในระดับชุมชนหรือท*องถิ่น และกระตุ*นคนไทยให*มีจิตสํานึกปกปVอง และคุ*มครองสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร และเชิดชูชุมชนที่ผลิตสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรให*เป(นที่รู*จัก รวมทั้ง จัดทําหลักสูตรสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรท*องถิ่นเพื่อเผยแพรให*ชุมชนท*องถิ่นมีความรู*ความข*าใจเกี่ยวกับ สินค*าสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรและสามารถพัฒนาตอยอดตอไปได*ในอนาคต งานวิจัยนี้จะเป(นประโยชนสําหรับหนวยงานที่เกี่ยวข*องและผู*มีสวนได*เสีย เชน กระทรวงพาณิชย กระทรวงเกษตรและสหกรณ และชุมชนท*องถิ่นซึ่งเป(นผู*ผลิตสินค*าสิ่งบงชี้ทาง ภูมิศาสตร ในการใช*เป(นแนวทางพัฒนาและเสริมสร*างความเข*มแข็งให*แกระบบการคุ*มครองและ สงเสริมสินค*าสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรของไทยที่ตอบรับและสอดคล*องกับนโยบายและยุทธศาสตรชาติ - ค - อันจะเป(นประโยชนตอการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน ตลอดทั้งเศรษฐกิจองครวมของประเทศ ให*มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนตอไป

abstract:

-- Abstract Title The Reform of the Protection and Promotion System of Indication Products in Thailand Field Economics Name Nusara Kanjanakul Course NDC Class 61 Geographical indications (GIs) are intellectual value that people in the community can use to develop and increase competitiveness of the country. Although Thailand has established the National Strategy and Policy that also focus on GIs, especially value-added GI agricultural products, there are currently many problems on the protection and promotion thereof. The problems include the production and quality control of GI products, the promotion of GI domestic and international markets, the value addition to GI products, the unclear legal mechanisms related to the protection of GIs, the wrongful registration of domain names under GI names, and the enforcement of GI-related rights. This research aims to study, analyze and propose recommendations to solve the above-mentioned problems in order to strengthen the protection and promotion system of GI products in Thailand, which respond and conform to the National Strategy and Policy. According to the research, it is found that to reform the protection and promotion system of GI products, Thailand needs to do the following: 1. improving the production through the use of technology and innovation, 2. providing mechanisms or systems that meet the international standards to control the quality of GI products, 3. promoting both domestic and international marketing, and implementing strategies to add value to GI products by placing the product positioning as premium with unique identity. In addition, supporting the use of the Thai GI logo on the GI products to assure consumers that they buy good quality and standard products, - ง - 4. Improving legal mechanisms to enhance the efficiency of the GI protection system, 5. defining specifically in the law that using the GI names for commercial exploitation in bad faith including the registration of domain names, is an offense, as well as supporting the arrangement of international agreement providing GI protection in the domain name system, 6. revamping the enforcement of rights by promoting understanding on GIs to enforcement agencies, and improving border measures to prevent the import and export of illegal GI products This research proposes policy and operation recommendations to reform the protection and promotion system of GI products, in both short and long term periods. In the short term, the government agencies in the GI-value chain need to review their existing operations to make them up-to-date and comply with the relevant national strategies, policies and laws. It is also important to integrate and coordinate closely among government agencies, entrepreneurs and local communities which are the geographical sources of products, and to set up a central agency to oversee, maintain and protect the rights of the community against illegal uses of GIs. On the enforcement front, Thailand must push ahead with the bilateral and multilateral trade negotiations, both at the World Trade Organization (WTO) and the World Intellectual Property Organization (WIPO) forums in order to instigate proper measures to enforce GI rights at the international level. On tourism, potential GI products that have production bases as natural and learning attractions should be linked with tourist attractions. In addition, it is necessary to encourage the conservation of local GIs and raise awareness for the GI owner communities to continuously maintain transferring GI-related knowledge and wisdom through succeeding generations. In the long term, relevant government agencies need to encourage Thais to have broader knowledge and understanding on GIs, especially its importance as a tool to help stimulate economic growth at the community or local level. They also need to encourage Thais to have consciousness to protect GIs, to commend - จ - communities that produce GI products to be widely known, as well as to hold GI training courses to disseminate knowledge on GIs to the local communities so that they further develop and add more value to GI products. This research is useful as a guideline for relevant agencies and stakeholders such as the Ministry of Commerce, the Ministry of Agriculture and Cooperatives, the local communities or the GI product producers, etc. to develop and strengthen the protection and promotion system of GI products, in conformity with the national strategies and policies. This is at long last to realize Thailand’s vision as a developed nation with stability, prosperity and sustainability, in accordance with the principles of Sufficiency Economy Philosophy.