Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการบริหารจัดการอุตสาหกรรมแร่อย่างยั่งยืน, (วปอ.8720)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายนิรันดร์ ยิ่งมหิศรานนท์, (วปอ.8720)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2561
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการบริหารจัดการอุตสาหกรรมแรอยางยั่งยืน ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผูวิจัย นายนิรันดร ยิ่งมหิศรานนท หลักสูตร วปอ. รุนที่61 งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา วิเคราะห และกําหนดแนวทางการขับเคลื่อน ยุทธศาสตรการบริหารจัดการแรสูการปฏิบัติและการบริหารจัดการอุตสาหกรรมแรอยางยั่งยืนโดยใช3 แนวทางตามบริบทที่เป4นที่ยอมรับจากนานาชาติเพื่อศึกษาการปรับปรุงแผนแมบทการบริหารจัดการ แร ฉบับที่ 2(พ.ศ. 2565-2569)ให3สอดคล3องกับบริบทของโลกที่เปลี่ยนแปลงไปโดยการรวบรวม และวิเคราะหข3อมูลจากแผนยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร ๒๐ ป? (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) และ แผนแมบทการบริหารจัดการแร พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔จากข3อมูลจากเอกสารการพัฒนาที่ยั่งยืน 17 ประการของสหประชาชาติเพื่อโลกอนาคต การจัดทํากิจการเหมืองแรที่ยั่งยืนของ The World Economic Forum (WEF) แนวปฏิบัติของ The Intergovernmental Forum on Mining, Minerals, Metals and Sustainable Development (IGF) นโยบายพัฒนาอุตสาหกรรมสูอนาคตของกระทรวง อุตสาหกรรมแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular economy) ของสหภาพยุโรปโดยผู3วิจัยได3น3อมนํา หลักของศาสตรพระราชา 23 ข3อ มาประเมินความสมเหตุสมผล (validate) กับแนวปฏิบัติที่สร3างขึ้น เพื่อให3มั่นใจได3วากิจกรรมดังกลาวจะสามารถสงผลสูความยั่งยืนได3จริงและเป4นรูปธรรมอยางแท3จริง ผลการศึกษาผู3วิจัยได3นําเสนอแนวทางการขับเคลื่อนยุทธศาสตรการบริหารจัดการแร สูการปฏิบัติประกอบด3วยการดําเนินงาน ทั้งสิ้น 13 แนวทาง และการปรับปรุง 4 ประเด็น ยุทธศาสตรของแผนแมบทการบริหารจัดการแรในระยะถัดไป รวมทั้งสิ้น 15 แนวทาง ทั้งนี้ผู3วิจัยมี ข3อเสนอแนะให3หนวยงานที่เกี่ยวข3องกําหนดและสงเสริมให3มีการประยุกตเครื่องมือประเมินความ ยั่งยืนและดัชนีชี้วัดที่เป4นที่ยอมรับในสากลเพื่อให3การพัฒนาอุตสาหกรรมแรมีความยั่งยืนและเป4น รูปธรรมมากขึ้น นอกจากนี้ยังได3เสนอแนะให3สงเสริมการใช3แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนที่จริงจังมากขึ้น เพื่อประโยชนในการบริหารจัดการอุปสงคและอุปทานด3านทรัพยากรแรให3มีการใช3อยางประหยัด มีประสิทธิภาพและคุ3มคา

abstract:

Abstract Title Sustainable development strategies of mining industry Field Economics Name Mr. Niran Yingmahissaranon Course NDC. Class 61 The objective of the study was to determine codes of conduct on driving the mineral management strategy implementation along with sustainable development concept. The study employed related international contexts in order to analyze and generate new appropriate activities to be advised in the 2 ndMineral Management Master Plan2022-2026.The 20 years Mineral Management Plan 2017-2036 and the current Mineral Management Master Plan of 2017-2021 were studied which Sustainable Development Goals by United Nation, Mapping Mining to the Sustainable Development Goals by the World Economic Forum, IGF Mining Policy Framework, European Commission’s Circular economy and Thailand industrial policy were also taken. After achieved resolutions, the study results were validated by King Rama IX’s royal concepts of development to ensure its successful objectives. In conclusion, the study suggested 13 codes of conduct in implementation driving stage and 15action lines of the next mineral management master plan should be added. However, international measuring tools of sustainable development needed to be employed to monitor and empower achievement in the implementation stage. In the meantime, Circular economy concept may lead to reduce the mineral consumption in supply side to succeed the highest efficiency and worth on minerals usage.