เรื่อง: แนวทางการพัฒนาจัดตั้งโรงไฟฟ้าในพื้นที่ภาคใต้โดยใช้เครื่องมือการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ (SEA), (วปอ.8717)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาวนันทิกา ทังสุพานิช, (วปอ.8717)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง แนวทางการพัฒนาจัดตั้งโรงไฟฟาในพื้นที่ภาคใตโดยใชเครื่องมือการประเมิน
สิ่งแวดลอมระดับยุทธศาสตร* (SEA)
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร*และเทคโนโลยี
ผูวิจัย นางสาวนันธิกา ทังสุพานิชหลักสูตร วปอ. รุนที่ 61
ป3จจุบัน รัฐบาลไดกําหนดใหก7อสรางโรงไฟฟาเพื่อสรางความมั่นคงของระบบไฟฟาใน
ภาคใตที่จังหวัดกระบี่และจังหวัดสงขลา แต7เกิดการขัดแยงทางสังคมอย7างรุนแรงระหว7างฝ:าย
สนับสนุนและฝ:ายคัดคานส7งผลใหไม7สามารถสรางโรงไฟฟาไดกระทรวงพลังงานจึงไดจัดทําบันทึก
ขอตกลงกับกลุ7มผูคัดคานและกลุ7มผูสนับสนุน ซึ่งทั้งสองฝ:ายมีจุดยืนร7วมกัน คือ ขอใหจัดทําSEA และ
จะยอมรับผล SEA มาใชในการกําหนดการพัฒนาโรงไฟฟาในภาคใต แต7เนื่องจาก SEA ถือเป@น
เครื่องมือใหม7ของรัฐบาลในการนํามาใชจึงมีความเสี่ยงสูงที่อาจไม7ประสบความสําเร็จดังนั้น การ
ศึกษาวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค*เพื่อวิเคราะห*ป3ญหาในกระบวนการจัดตั้งโรงไฟฟาและกระบวนการสราง
ความเขาใจกับประชาชนศึกษากระบวนการจัดทําSEAเพื่อเสนอแนวทางการนํา SEAมาใชเป@น
เครื่องมือในการพัฒนาโรงไฟฟาในภาคใตใหสามารถเกิดขึ้นอย7างเป@นรูปธรรม ซึ่งจากการวิจัยพบว7า
ป3ญหาการคัดคานการพัฒนาโรงไฟฟาของประชาชนเกิดจากรัฐบาลกําหนดนโยบายและพื้นที่ตั้ง
โรงไฟฟามาตั้งแต7ตนโดยประชาชนไม7มีส7วนร7วม ประกอบกับกระบวนการสรางความเขาใจประชาชน
ก็มีเพียงช7องทางเดียว คือ ผ7านการศึกษา EIA ซึ่งไม7เพียงพอต7อการสรางการมีส7วนร7วม ดังนั้น การนํา
SEA ที่เนนกระบวนการมีส7วนร7วมของประชาชนมาใชจึงน7าจะเป@นทางออกที่ดีในการแกไขป3ญหานี้
โดยจากการศึกษากระบวนจัดทํา SEA วิเคราะห*ความเสี่ยงและเงื่อนไขความสําเร็จแต7ละขั้นตอน
ผูวิจัยจึงไดกําหนดขอเสนอแนะสําหรับการดําเนินโครงการและการนํา SEA มาใชในแบ7งเป@น 2 ระดับ
คือ ระดับกระบวนการจัดทํา SEAประกอบดวย การกําหนดขอบเขตการศึกษาจะตองใหทุกภาคส7วนมี
สวนรวมตั้งแตแรก การพัฒนาตัวชี้วัดและเกณฑประเมินทางเลือกตองครอบคลุมทุกมิติและมีคาถวง
น้ําหนักเหมาะสม การกําหนดและประเมินทางเลือกในการพัฒนาตองรับฟ(งความคิดเห็นอยางรอบ
ดาน และเนนการจัดทํากระบวนการมีสวนรวมที่ไดรับการยอมรับ และขอเสนอแนะระดับนโยบาย
เสนอใหรัฐบาลนําผลการศึกษา SEA ไปใชประกอบการตัดสินใจการลงทุนโรงไฟฟ8าในภาคใต
ปรับปรุงแผน PDP ใหเป<นตามผลการศึกษาและควรกําหนดการดําเนินการรวมกับกลไกที่เป=ดโอกาส
ใหประชาชนในพื้นที่สามารถเสนอพื้นที่ตั้งโรงไฟฟ8ามาเพื่อใหรัฐบาลตัดสินใจ โดยหากการ
ดําเนินการตามขอเสนอแนะประสบความสําเร็จจะสงผลใหสามารถจัดตั้งโรงไฟฟาเพื่อสรางความ
มั่นคงดานพลังงานของประเทศ และเป@นตนแบบการพัฒนาโครงการขนาดใหญ7ของประเทศ ที่
สนับสนุนกระบวนการมีส7วนร7วมประชาชนอย7างแทจริง
abstract:
Abstract
Title Power plant development in the southern region of Thailand using
SEA approach
Field Science and Technology
Name Ms.Nantika Thangsuphanich Course NDC Class 61
The government has a plan to build power plants in Southern Thailand at
Krabi and Songkhla province for electrical power system stability. However, the
conflict has risenseverelybetween supportersand protesters that affect the
establishment of power plants. The Energy Ministry agreed in MoU with supporters
and protesters to set up a study for the Strategic Environmental Assessment (SEA)
report that leads to the acceptance of power plants development plan.
Nevertheless, SEA report is a new tool so that there is a risk of failure.
The objectives of this research were evaluated of development problems
and public relations process, in addition to examine of SEA report procedure that will
be used to develop power plants.
The results revealed thatthe resistancedue to policy and area selection
occurred without public participation. Furthermore, the Environmental Impact
Assessment (EIA) report is only one way of public relations process; therefore, SEA
report focused on public participation is the solution of development problems.
The researcher has suggested two levels. First, SEA report procedure
should consist of public participation involved in scope of study. Indicators and
alternate assessment criteria ought to be formed extensively in all perspectives and
reasonable weighted arithmetic mean. Public participation process should be done
thoroughly and acceptably.
Second, in policy suggestion, the government ought to make a decision
based on SEA research results, including improvement of Power Development Plan
(PDP). Additionally, residents can also propose the appropriate area.
If the government follows their suggestion, power plants will be
developed. Therefore, energy security and mega project’s prototype that truly
support public participation will occur.