เรื่อง: การมีส่วนร่วมของประชาชนต่อกระบวนการศาลยุติธรรม : ศึกษากรณีของศาลแรงงาน, (วปอ.8714)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางนภาพร ถาวรศิริ, (วปอ.8714)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การมีส่วนร่วมของประชาชนต่อกระบวนการศาลยตุ ิธรรม :ศึกษากรณี
ของศาลแรงงาน
ลักษณะวิชา การเมือง
ผู้วจิัย นางนภาพร ถาวรศิริ หลกัสูตรวปอ. รุ่นท ี่ 61
การมีส่วนร่วม การที่ประชาชนซ่ึงเป็นผูใ้ชอ้า นาจอธิปไตยสามารถเขา้มามีส่วนร่วม
ดว้ยน้นัยงิ่ เป็นสิ่งสา คญั ดงัจะเห็นไดจ้ากการการที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกัรไทย พุทธศักราช 2560
ได้มีบทบัญญัติรับรองไวใ้นมาตรา 68 ว่าด้านการบริหารงานต้องให้ประชาชนสามารถเข้าถึง
กระบวนการยุติธรรมได้และมาตรา 78 ที่กา หนดให้รัฐพึงส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วม งานวิจัย
น้ีมีวตัถุประสงคเ์พื่อ 1. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบกบัการเขา้มามีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการ
ศาลยุติธรรมกรณีของศาลแรงงานของไทยกบัของต่างประเทศ 2. เพื่อศึกษาคุณสมบัติของประชาชน
ที่จะเข้ามามีส่วนร่วมในระบบผูพ้ ิพากษาสมทบของศาลแรงงานและระบบลูกขุนของต่างประเทศ
3. แนะแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อกระบวนการยตุ ิธรรม
การศึกษาใชว้จิยัเชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากตา รา สถิติและเอกสารต่าง ๆ การสัมภาษณ์
เชิงลึกผพู้ ิพากษาสมทบในศาลแรงงานให้ขอ้มูลส าคญั รวมท้งัการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมการมีส่วนร่วม
ของประชาชนปัจจุบนั มีความส าคญั เป็นอย่างมากในการพฒั นาประเทศเพราะประชาชนผู้เป็ น
เจา้ของอา นาจอธิปไตยอนัแทจ้ริงเขา้มามีส่วนร่วมในอา นาจน้ีจึงเป็นสิ่งส าคญั ในระบอบประชาธิปไตย
ไม่วา่ วา่ จะเป็นการเขา้มาเพื่อมีส่วนร่วมในอา นาจนิติบญั ญตัิอา นาจบริหาร หรืออา นาจตุลาการ
ผลการศึกษาพบว่า 1. ประเทศไทยมีรูปแบบของการให้สิทธิแก่ประชาชนเข้ามา
มีส่วนร่วมของประชาชนในอา นาจตุลาการได้อีกรูปแบบหน่ึงคือรูปแบบผูพ้ ิพากษาสมทบในศาล
แรงงานส่วนของต่างประเทศโดยเฉพาะประเทศญี่ปุ่นที่มีส่วนคลา้ยคลึงประเทศไทยมากไดใ้ห้สิทธิแก่
ประชาชนเขา้มามีส่วนร่วมในอา นาจตุลาการในรูปแบบระบบลูกขุน 2.คุณสมบัติของประชาชนที่จะ
เข้ามามีส่วนร่วมในระบบผู้พิพากษาสมทบกับระบบลูกขุนมีความแตกต่างกันคือระบบ
ผู้พิพากษาสมทบคัดเลือกมาจากประชาชนซึ่งเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถเฉพาะด้านวาระคราวละ 1 ปี
ส่วนระบบลูกขนุ คดัเลือกจากประชาชนทวั่ ไปที่คณะลูกขุนจะทา งานเสร็จเป็นรายคดี 3. ประเทศไทยได้
มีรูปแบบของการให้สิทธิแก่ประชาชนไดเ้ฉพาะคดีชา นญั พิเศษเท่าน้นั โดยไม่ไดน้ า มาใช้กบัคดีอาญา
ทวั่ ไปด้วยเหตุน้ีจึงทา ให้มีแนวคิดที่จะนา ระบบลูกขุนมาใช้ในประเทศไทย อย่างไรก็ตามหากจะ
น ามาใช้ต้องมีการศึกษาถึงความเหมาะสม สภาพแวดล้อม วัฒนธรรมของประเทศไทยขอ้ดีขอ้เสียก่อน
abstract:
Abstract
Title Public participation in the judicial process: a case study of the labor court
Field Politics
Name Mrs. Napaporn Tawornsiri Course NDC Class 61
Participation of the public, a true owner of sovereignty, is one of the key factors in
country development. It is reflected in the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E.
2560,article 68 and article 78. Both articles signify the public right to participate in either
admistrative or justice process. The present study will concentrate on public participation in
justice system, especially on Labor court. The objectives of this study were 1. To compare public
participation on labor court justice system between Thailand and other countries. 2. To study the
qualification criteria of the associated judge in Thai labor court and that in jury system of other
countries. 3. To make suggestions on public participation in justice system.
Qualitative research was used in this study. Primary information were obtained by
in-depth interview of associate judges of labor court. Secondary information such as theory,
statistics were retrieved from available documents. Observations also included. Sovereignty of
the people or popular sovereignty are important for the development of country. Public
participation on either legislative power, executive power, or judicial power should be concerned
for the democratic system.
The results were 1. In Thailand, public participation on the judicial power was via
the existence of associate judge in labor court. While in other countries, expecially Japan, there
was a similar public participation through the jury system. 2. However, there was a different in
which the associate judges were selected with a specific qualification and was a one-year term.
The japanese juries were from general public and the participation ended with the end of the
given case. 3. In Thailand, public participation on judicial power only allowed for the special
case but not for the criminal case. The present study suggested that the jury system may be
considered to be employed with the awareness of culture of Thailand. Further study must be taken
on the advantage and disadvantage of the jury system or others before implementation in
Thailand.