เรื่อง: แนวทางการเสริมสร้างกำลังทหารพรานเพื่อการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน, (วปอ.8710)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติยุทธศาสตร์/Strategy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พล.ต. เธียรพงศ์ เมืองพรหม, (วปอ.8710)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการเสริมสร้างก าลังทหารพรานเพื่อการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดน
ภาคใต้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์
ผู้วิจัย พลตรีเธียรพงศ์เมืองพรหม หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๑
การวิจัยเรื่อง แนวทางการเสริมสร้างก าลังทหารพรานเพื่อการแก้ไขปัญหาจังหวัด
ชายแดนภาคใต้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษาบทบาทของทหาร
พรานในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากการใช้ทหาร
พรานในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้และเพื่อก าหนดแนวทางการเสริมสร้างศักยภาพ
ทหารพรานในบทบาทการแก้ปัญหาชายแดนภาคใต้การวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative
Research) ผลการวิจัยพบว่า กกล.ทพ.จชต. ถือเป็นกองก าลังหลักทางยุทธศาสตร์ในส่วนของกอง
ก าลังทางทหารของ กอ.รมน.ภาค ๔ สน.ในการการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้โดยมีภารกิจ
ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการก่อเหตุรุนแรง การรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
ของประชาชน สนับสนุนการพัฒนายกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้นและบังคับใช้กฎหมาย
ด้วยความเป็นธรรมในพื้นที่ จชต. โดยมีกรอบแนวทางในการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหา
จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ก าหนดกรอบเวลาไว้ ๓ ระยะ คือ ระยะที่ ๑ : การควบคุมสถานการณ์
และยุติสภาพปัญหา (ปี๒๕๔๗ – ปี ๒๕๕๓) ระยะที่ ๒ : การปฏิบัติการเชิงรุกควบคู่กับการพัฒนา
(ปี ๒๕๕๔ – ปี ๒๕๖๒) และระยะที่ ๓ : การเสริมสร้างสันติสุขและการพัฒนาอย่างยั่งยืน (ปี ๒๕๖๓
เป็นต้นไป) ซึ่งมีประเด็นความไม่เหมาะสมในการคัดเลือกทหารพรานในพื้นที่ ความไม่เพียงพอ
ของหมวดทหารพรานหญิงและการฝึกทักษะทางยุทธวิธีการขาดการน าองค์ความรู้ เทคโนโลยี
งานวิจัย หรือนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา และการขาดการทบทวนนโยบายที่ไม่สอดคล้อง
กับการด าเนินวิถีชีวิตของผู้คนในพื้นที่ และน าประเด็นดังกล่าวมาประยุกต์กับแนวคิด ทฤษฎี และ
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ท าให้สามารถก าหนดปัจจัยเพื่อหาแนวทางในการเสริมสร้างก าลังทหารพราน
อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน โดยเป็นลักษณะของการตั้งค าถามเกี่ยวกับปัจจัยในความส าเร็จ
และล้มเหลวที่ชี้บ่งว่าแนวทางในการเสริมสร้างก าลังทหารพรานจะประสบความส าเร็จหรือไม่
และผลการวิจัยได้เสนอแนวทางในการเสริมสร้างก าลังทหารพรานเพื่อการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดน
ภาคใต้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน โดยมีองค์ประกอบ ๑๓ ประการ ได้แก่ ๑. การคัดเลือกบุคคล
เพื่อมาเป็นทหารพราน ๒. การจัดตั้งหมวดทหารพรานหญิงเพิ่มเติม ๓. การเพิ่มระยะเวลาในการอบรม
และฝึกทักษะยุทธวิธี๔. การฝึกทบทวนทักษะการปฏิบัติตามวงรอบอย่างต่อเนื่อง ๕. การประเมิน
ประสิทธิภาพของการใช้ก าลังของ กกล.ทพ.จชต.อย่างเป็นระบบ ๖.การจัดตั้ง ชป.เชิงรุก ๗.การบูรณาการ
ก าลังทุกภาคส่วน ๘.การจัดตั้งแหล่งข่าวทหารพรานและแหล่งข่าวภาคประชาชนในพื้นที่ ๙.การปฏิบัติงาน
ของ กกล.ทพ.จชต.ในฐานะเป็นหน่วยปฏิบัติการพิเศษร่วม ๑๐. การเฝ้าตรวจทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
๑๑. การควบคุมสื่อในการคัดกรองข้อมูลน าเสนอข่าว ๑๒. การใช้เทคโนโลยีในการเพิ่มมาตรการ
เฝ้าระวังและรักษาความปลอดภัย และ ๑๓. การเพิ่มบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุนเยาวชนข
ในพื้นที่ทางด้านกีฬา ข้อเสนอแนะ กอ.รมน.ภาค 4 สน.ควรปรับเปลี่ยนภาพลักษณ์ของ ชป.ทพ.
(พิเศษ) ให้ส่งเสริมงานการเมืองของ กกล.ทพ.จชต. ควรจัดระบบเพื่อป้องกันความเคลื่อนไหวของ
กลุ่มหัวรุนแรง และควรจัดตั้งคณะท างานขับเคลื่อนงานทางภาคประชาสังคมให้มากขึ้น รัฐบาล
ควรจัดท าแผนรองรับเพื่อการปฏิบัติการรุกทางการเมืองในอนาคต ควรก าหนดนโยบายเร่งด่วนในการ
แก้ไขปัญหาความไม่สงบในพื้นที่ จชต.และแผนในการปรับสภาพแวดล้อมที่จะรุกในขั้นที่ ๓ และ
ควรแต่งตั้งคณะท างานเพื่อพิจารณาทบทวนและปรับแก้นโยบายและยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ
เพื่อแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น
abstract:
Abstract
Title : Guidelines for Enhancing Effective and Sustainable Solutions for
Problems in Southern-Border Provinces of Thailand
Field : Strategy and Military
Name : Maj.Gen. Thienpong Muangprom Course NDC Class 61
This research is a qualitative research. The objectives of this research are
to study the roles of the para-military of the southern border province of Thailand, to
investigate obstacles and problematic issues related to using the para-military for
solving the southern-border provinces problems, and to offer guidelines for enhancing
effective and sustainable solutions for problems in southern-border provinces of
Thailand.
Results of this research indicate that the para-military is the main strategic
force of the Region-4 Internal Security Operations Command for solving the southernborder provincesof Thailand. The main missions of the para-military includeto prevent
any unrest issues in the areas, to offer safety in life and properties, to increase the
quality of life, and to use law enforcement with justice for people in the areas.
The plan from the strategy for solving the southern-border provinces of Thailand was
originally divided into 3 phases. These 3 phases are phase 1: control and cease the
unrest issues (2004-2010), phase 2: proactive action together with the development
(2011-2019), and phase 3: strengthening peace and sustainable development (2020
onwards). However, the investigation revealed that the plan might have inappropriate
criteria for selecting the para-military in the areas, inadequate female para-military
squads and strategic trainings, lack of use of knowledge, technology, research,
or innovations applied to the problem solving, as well as lack of review of the policies
that might not be consistent with lifestyles of the local people.
This research proposed the guidelines for enhancing effective and sustainable
solutions for problems in southern-border provinces of Thailand which consist of
13 important issues. These issues include selection criteria for the para-military,
addition of the female para-military squads, increase of time durations for trainings,
continuously practice review of the trainings, systematic evaluation for the effectiveness
of the use of the para-military, setting up proactive operation groups, integration of all
related sectors, collection of news sources from both the para-military and local ง
people, acting as special operation forces with other government and civilian sectors,
monitoring information technology, media control for screening the news information,
use of technology for increasing security, and additional roles to support youths in the
areas for sport activities.
This research also offer suggestions for both the Region-4 Internal Security
Operations Command and the Government of Thailand. the Region-4 Internal Security
Operations Command should adjust the images of the special operation groups to
support the political tasks of the para-military, set up a system for monitoring and
preventing any movements of radical groups, and set up a working steering group for
civil society work. Moreover, the Government of Thailand should have support plan
for the political proactive operations in the future, issues urgent policies and plans for
solving the southern-border provinces of Thailand, and set up a working committee
group to continuously review and improve the policies and strategies to be more
effective for solving the southern-border provinces of Thailand.