Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การพัฒนาการบริหารจัดการกองทัพเรือ โดยการนําระบบสารสนเทศมาใช้ ในการบริหารจัดการทรัพยากร, (วปอ.8708)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พล.ร.ต. ธีระกุล กาญจนะ, (วปอ.8708)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2561
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง การพัฒนาการบริหารจัดการกองทัพเรือโดยการนําระบบสารสนเทศ มาใชในการบริหารจัดการทรัพยากร ลักษณะวิชา การทหาร ผูวิจัย พลเรือตรี ธีรกุล กาญจนะ หลักสูตร วปอ. รุ&นที่ ๖๑ กองทัพเรือไทยหรือราชนาวีเป*นองค,กรขนาดใหญ&ที่มีบทบาทสําคัญทั้งในระดับ ประเทศและภูมิภาค การที่กองทัพเรือเป*นองค,กรขนาดใหญ& มีการจัดองค,กรที่สลับซับซอน รวมทั้ง มีหนาที่ ภารกิจและตองแสดงบทบาทในหลายบทบาท จึงจําเป*นตองมีระบบการบริหารจัดการที่ดี สามารถจัดสรรทรัพยากรที่กองทัพเรือมีอยู&ใหกับหน&วยต&างๆ ไดอย&างพอเพียง เหมาะสม และมี ประสิทธิภาพ กองทัพเรือจึงจําเป*นตองมีระบบการบริหารจัดการภายในองค,กรที่ดี เพื่อใหหน&วยต&างๆ สามารถปฏิบัติภารกิจดังกล&าวไดอย&างมีประสิทธิภาพ ในป8จจุบันการบริหารจัดการงบประมาณหรือ ทรัพยากร ดังนั้น องค,กรที่เป*นองค,การที่มีขีดความสามารถสูง (High Performance Organization : HPO) จึงตองใชเครื่องมือทางสารสนเทศ เพื่อช&วยในการบริหารจัดการ ที่เรียกว&า “ระบบบริหาร จัดการทรัพยากรขององค,กร หรือ Enterprise System (ES)” เพื่อใหการบริหารจัดการขององค,กร มีประสิทธิภาพสูงสุด การวิจัยครั้งนี้พบว&ากระบวนการบริหารและจัดการทรัพยากรของกองทัพเรือ มีความสอดคลอง เป*นไปตามทฤษฎีและหลักการการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ, ดังนั้น การนําระบบ สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการทรัพยากร (ERP) มาใช จึงเป*นการแกไขป8ญหาในการบูรณาการ ระบบฐานขอมูลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ โดยมีจุดประสงค,เพื่อศึกษาวิเคราะห, กระบวนการในการบริหารจัดการทรัพยากรของ กองทัพเรือ การวางแผนถ&ายทอดยุทธศาสตร,กองทัพเรือ การประเมินผลการปฏิบัติราชการและการ นําระบบสารสนเทศมาใชในบริหารจัดการทรัพยากรอย&างมีประสิทธิภาพ และเพื่อศึกษาหลักการ ทฤษฎีและแนวนโยบายในการบริหารองค,กรขนาดใหญ&หรือองค,กรที่มีสมรรถนะสูง และพิจารณาหา ทฤษฎี หลักการที่เหมาะสมในการนําระบบสารสนเทศมาเป*นตนแบบในการพัฒนาการบริหาร จัดการองค,กรของกองทัพเรือ โดยเสนอแนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการกองทัพเรือ โดยนํา ระบบสารสนเทศมาใชเป*นแกนกลางหลักในการบริหารจัดการทรัพยากรใหมีประสิทธิภาพและเกิด ประโยชน,สูงสุด การวิจัยในครั้งนี้ เป*นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีการ การรวบรวมขอมูล ขอมูลทุติยภูมิ ขอมูลปฐมภูมิ และดําเนินการโดยใชการวิเคราะห,เนื้อหา (Context Analysis) และการวิเคราะห, เปรียบเทียบ และสังเคราะห,ขอมูลทฤษฎี หลักการต&างๆ และนําเสนอขอมูลแบบรายงานวิจัย ผลการวิเคราะห,กระบวนการบริหารและจัดการทรัพยากรของกองทัพเรือ เห็นว&ากระบวนการ บริหารและจัดการทรัพยากรของกองทัพเรือมีความสอดคลองและเป*นไปตามทฤษฎีและหลักการ การบริหารจัดการเชิงกลยุทธ, การบริหารงบประมาณแบบมุ&งเนนผลงานตามยุทธศาสตร, การพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แลว โดยมีขอเสนอแนะใหกองทัพเรือกําหนดใหระบบ RTN ERP เป*นระบบสารสนเทศหลักในการบริหารและจัดการทรัพยากรของกองทัพเรือ และนําไปใชปฏิบัติ ข ในหน&วยงานต&างๆ ของกองทัพเรือตองนําฐานขอมูลทรัพยากรมาเชื่อมโยงกับระบบ RTN ERP

abstract:

Abstract Title The development of The RTN management by using The ERP System Field Military Name Rear Admiral Teerakun Kanchana Course NDC Class 61 The Royal Navy (RTN) plays an important role in maintain national and regional maritime security. In detail the navy is large and complex organization and has a duty to play in many roles. Therefore the navy requires a good management system in order to be able to allocate resources for various units sufficiently and efficiently. By the way the navy must have a good internal management system like a High Performance Organization (HPO) that requires information tools called "Enterprise Resource Management System (ES)" to help manage the organization to maximize efficiency. This research is a qualitative research which having an objective to study problems and obstacles in the management and resource allocation process of the Royal Thai Navy. In order to effectively allocate RTN resources, the content analysis were applied by using with primary and secondary data gathering and carry out and analyze the RTN management and resource allocation processes in comparison with the theory and the strategic management principles to be used as a guideline for correction and development in the RTN policy formulation The result of this thesis indicates that the navy resource management and management process is consistent and in accordance with management theory and the strategic management principles. However the database of various departments is not linkage completely and duplicated with each other. In conclusion to improve the quality of RTN management, the RTN have to set the RTN ERP system as the main information system for the management of navy resources and all departments must bring the unit resource database to connect with the RTN ERP system.