Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ปัญหาหนี้นอกระบบกับสภาพสังคมไทย, (วปอ.8707)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พล.ต.ต.ธิติ แสงสว่าง, (วปอ.8707)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2561
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง ปญหาหนี้นอกระบบกับสภาพสังคมไทย ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผูวิจัย พลตํารวจตรี ธิติ แสงสว!าง หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๖๑ จากสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอย!างรวดเร็ว ส!งผลถึงวิธีการดําเนินชีวิต ของประชาชนที่ต1องมีการปรับตัวให1ทันต!อการเปลี่ยนแปลงกับสถานการณ4ที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะปญหา การเป7นหนี้ของประชาชนและของบุคคลหลายๆอาชีพทั่วประเทศ อันนําไปสู!ปญหาหนี้นอกระบบ ซึ่งเป7น ปญหาที่ส!งผลต!อสังคมและเศรษฐกิจชาติมาโดยตลอด โดยวัตถุประสงค4ของการวิจัยมุ!งเน1นเพื่อศึกษา สถานการณ4หนี้นอกระบบที่มีผลกระทบต!อสังคมในทุกมิติ เพื่อศึกษาปญหาของหนี้นอกระบบต!อ การพัฒนาสังคมไทย และเพื่อเสนอแนวทางในการแก1ไขปญหาเงินกู1นอกระบบให1มีประสิทธิภาพและ ยั่งยืน โดยมีขอบเขตของการวิจัย แบ!งเป7น ๒ ด1าน คือ ขอบเขตด1านเนื้อหา เน1นศึกษาวิเคราะห4ผลกระทบ จากหนี้นอกระบบที่ส!งผลต!อสภาพสังคมไทย และขอบเขตด1านประชากร ซึ่งประชากรที่ใช1ในการศึกษา ครั้งนี้ ได1แก! บุคลากรที่เป7นเจ1าหน1าที่ของกองกํากับการ ๑ และกองกํากับการ ๒ กองบังคับการปราบปราม การกระทําความผิดเกี่ยวกับการคุ1มครองผู1บริโภค(บก.ปคบ). ที่มีส!วนเกี่ยวข1องในการแก1ไขปญหาหนี้ นอกระบบ จํานวน ๓๐ นาย และประชาชนที่ได1รับผลกระทบจากปญหาหนี้นอกระบบ มีวิธีดําเนินการ วิจัยเป7นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ดังนี้การรวบรวมข1อมูลจากเอกสาร โดยแบ!งเป7น ข1อมูลทุติยภูมิ ดําเนินการโดยการศึกษาจากตําราและเอกสารต!าง ๆ และข1อมูลปฐมภูมิ ดําเนินการ โดยการสัมภาษณ4เชิงลึก การวิเคราะห4ข1อมูล ดําเนินการโดยใช1การตีความข1อมูลจากการสัมภาษณ4เพื่อ เพิ่มเติมคําอธิบายจากการสํารวจให1มีความสมบูรณ4ยิ่งขึ้น และสรุปข1อค1นพบที่ได1จากการสัมภาษณ4และ ข1อมูลที่ได1จากการวิเคราะห4เอกสาร ข1อเสนอแนะการแก1ไขปญหาหนี้นอกระบบในปจจุบัน มุ!งเน1นไป ที่การแก1ไขกฎหมายเพื่อเพิ่มโทษเพียงอย!างเดียวนั้นอาจไม!เพียงพอ ทางรัฐบาลควรจะมีแนวทาง เสริมสร1างวินัยทางการเงินแก!ประชาชน การแก1ปญหาอย!างยั่งยืนจึง ไม!ใช!แค!การปราบปรามเจ1าหนี้ เงินกู1นอกระบบเพียงอย!างเดียว แต!ควรเน1นการแก1ปญหาด1วยการพัฒนาศักยภาพทางปญญา สร1างความรู1 ความคิด และความเข1าใจ ให1ประชาชนรู1เท!าทันกลโกงในรูปแบบต!าง ๆ และเมื่อถูกฟRองแล1วจะมีช!องทางใน การเข1าถึงกระบวนการยุติธรรมได1อย!างไร ประเด็นสําคัญภาครัฐต1องมีมาตรการสนับสนุนส!งเสริมเพื่อ ลดความเหลื่อมล้ําทางด1านเศรษฐกิจและสังคมอย!างต!อเนื่องจริงจัง โดยการส!งเสริมให1ลูกหนี้ที่ได1กู1ยืม เงินไปนําเงินดังกล!าวไปลงทุนต!อเพื่อเพิ่มรายได1 โดยถือเป7นหน1าที่ของทุกภาคส!วนที่จะต1องร!วมมือร!วม ใจแก1ไขปญหาไม!ว!าจะเป7นภาครัฐ ภาคประชาสังคม ภาคเอกชน และภาคประชาชน

abstract:

Abstract Title Informal Debt Problems and Thai Social Condition Field Social - Psychology Name Police Major General Thiti Sangsawang Course NDC Class 61 The rapidly changing economic and social condition affects the way of living of people that need to be adjusted to keep up with changes in the situation. The problem of debts of people from many professions across the country that leads to the informal debt problem, which is the problem that has an impact on society and the national economy. The objectives of the research are to study the informal debt situation that affects society in all dimensions, to study the problem of informal debts to the development of Thai society and to propose a guideline to solve the informal debt problem efficiently and sustainably. The scope of this research is divided into 2 areas including the content that focuses on studying and analyzing effects of informal debts on Thai society and the population that was used in this study including 30 police officers from Division 1 and Division 2 of the Consumer Protection Police Division (CPPD) who are involved in solving the informal debt problem and the people who are affected by the informal debt problem. The research methodology used in this research was the qualitative research method. The data was collected from documents by dividing into the secondary data conducted by studying from textbooks and documents and the primary data conducted by an in-depth interview. The data analysis was carried out by using the interpretation of the interview data to add in the explanations obtained from the survey to be more complete. Then, the findings from the interview and document analysis were summarized. For the recommendations to solve the current informal debt problem, a focus on the amendment to the law to increase the penalty may not be adequate. The government should have guidelines to strengthen financial discipline for people. The sustainable solution is not only the suppression of informal loan creditors but also the development of intellectual potential, building knowledge, thought and understanding so that people will know cheating in various ways and what channels to access to the process of judgment when people are sued. In this regard, this issue is considered as a duty of all sectors that must cooperate to solve the problem, regardless of the government sector, society, private sector, and people sector.