Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การสร้างความมั่นคงด้านพลังงานจากแหล่งปิโตรเลียมในประเทศไทย

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการศึกษา/Education
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย พงศธร ทวีสิน
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื อง การสร้างความมันคงด้านพลังงานจากแหล ่งปิ โตรเลียมในประเทศไทย ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ผ้วิจัย ู นายพงศธร ทวีสิน หลักสูตร วปม. ร่นที ุ $ ในช่วงเวลาหลายปี ที ผ่านมา เศรษฐกิจของประเทศไทยได้เติบโตขึ-นอย่างต่อเนื อง และนํามาซึ ง ความต้องการใช้พลังงานที เพิ มขึ-นอยางต ่ ่อเนื องเช่นกน เพื อให้บรรลุเป้ าหมายในการ ั เสริ มสร้างเศรษฐกิจและความมันคงทางพลังงาน ซึ งหมายถึงการจัดหาพลังงานให้มีพร้อมใช้ อย่างเพียงพอทัวถึงในราคาที เหมาะสม อย ่างคุ้มค่า ต่อเนื องและยังยืนทั -งในปัจจุบันและอนาคต รายงานการศึกษาฉบับนี-ได้นําเสนอแนวทางการดําเนินงานของพลังงานไทยเพื อสร้างความเข้มแข็ง ทางเศรษฐกิจและความมันคงทางพลังงานจากการพัฒนาแหล ่งปิ โตรเลียมภายในประเทศ โดย มุ่งเน้นไปในสองประเด็นหลัก คือ 1) แนวทางการเปิ ดสัมปทานแหล่งปิ โตรเลียมใหม่ (รอบที 21) และ 2) แนวทางการบริหารจัดการสัมปทานปิ โตรเลียมที จะครบกาหนดในปี 2565 เพื อส ํ ่งเสริมการ ลงทุนในการสํารวจและพัฒนาทรัพยากรปิ โตรเลียมของประเทศให้สามารถนําทรัพยากรนํ-ามันดิบ ก๊าซธรรมชาติ และก๊าซธรรมชาติเหลวมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อทุกภาคส่วนของประเทศ การดําเนินการดังกล่าวโดยภาครัฐตามลําพังมิอาจดําเนินการให้สําเร็จลุล่วงไปได้หากปราศจากการ สนับสนุนจากภาคเอกชนและภาคประชาสังคม ซึ งในปัจจุบันมีความเข้าใจที คลาดเคลื อนหลาย ประการนํามาซึ งการต่อต้านหลายรูปแบบ ดังนั-น ความมุ่งหมายหนึ งของการจัดทํารายงานฉบับนี- คือการสร้างความรู้ สร้างความเชื อมัน ความเข้าใจที ถูกต้อง ก บผู้มีส ั ่วนได้ส่วนเสียในทุก ๆ ภาคส่วน ซึ งจะมีส่วนช่วยให้กิจกรรมการสํารวจ และผลิตปิ โตรเลียมภายในประเทศดําเนินไปได้ ด้วยความราบรื น มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ผลการศึกษาในประเด็นทางการเปิ ดสัมปทานแหล่งปิ โตรเลียม รอบที 21 สามารถสรุป ได้วาแนวทางที เหมาะสมที สุดน ่ ่าจะเป็ นการรักษาระบบ Thailand III ไว้เหมือนเดิม แต่อาจพิจารณา ปรับกฎเกณฑ์การคํานวณผลประโยชน์ให้มีความเหมาะสมกบศักยภาพปิ โตรเลียมของไทยมาก ั ยิ งขึ-น เพื อให้ Thailand III สามารถสร้างความสมดุลระหว่างการจัดเก็บส่วนแบ่งผลประโยชน์ ภาครัฐ และผลตอบแทนของผู้ประกอบการอยางแท้จริง ซึ งทั ่ -งหมดที กล่าวมาแล้วควรดําเนินการให้ แล้วเสร็จภายใน ระยะเวลา 6-10 เดือน สําหรับข้อเสนอแนะในประเด็นทางการบริหารจัดการสัมปทานปิ โตรเลียมที จะครบ กาหนดในปี 2565 นั ํ -นเห็นควรให้เร่งพิจารณาแนวทางในการพัฒนาแหล่งปิ โตรเลียมสําหรับข สัมปทานในพื-นที ผลิตที ไม่สามารถต่อระยะเวลาได้อีกตามกฎหมาย เพื อให้ได้ข้อยุติอยางน้อย 5 ปี ่ ก่อนการสิ-นสัมปทาน เพื อลดผลกระทบเชิงลบที อาจจะเกิดขึ-นต่อต้นทุนการผลิตก๊าซธรรมชาติ ไฟฟ้ า และอุตสาหกรรมปลายนํ-าที เกี ยวข้อง โดยแนวทางที เหมาะสมที สุดคือ การดําเนินการตาม กฎหมาย พ.ร.บ. ปิ โตรเลียม โดยกรมเชื-อเพลิงธรรมชาติควรที จะได้ทําการการศึกษา และคํานวณ มูลค่าที แท้จริงของสัมปทานที หมดอายุอยางละเอียดถี ถ้วนเพื อที จะได้ก ่ าหนดเกณฑ์ขั ํ -นตํ าที วาด้วย ่ สัดส่วนในการร่วมลงทุนของภาครัฐให้ชัดเจน และกาหนดกลไกในการเปิ ดประมูลแบบพิเศษ ํ เพื อให้แน่ใจได้วากฎเกณฑ์ต ่ ่างๆมีความโปร่งใสและเป็ นธรรมกบทุกภาคส ั ่วนที มีส่วนได้ส่วนเสีย ในเรื องของระบบการแบ่งปันผลประโยชน์นั-นก็น่าที จะรักษาระบบ Thailand III ไว้เหมือนเดิม แต่ อาจพิจารณาปรับสูตรการคํานวณผลประโยชน์เพื อให้มีความเหมาะสมกบศักยภาพปิ โตรเลียมที ั เหลืออยู่ ซึ งทั-งหมดที กล่าวมาแล้วน่าที จะอยู่ในวิสัยที จะดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลา 12-18 เดือน ซึ งก็จะอยูในกรอบเวลาเดียวก ่ บที เสนอไปในข้างต้นแล้วว ั าควรให้ได้ข้อยุติในเรื องของ ่ แนวทางการพัฒนาแหล่งปิ โตรเลียมที จะหมดอายุอยางน้อย O ปี ก ่ ่อนที สัมปทานจะหมดอายุลง

abstract:

ABSTRACT Subject Thailand’s Energy Security through the Use of National Petroleum Resources Field Science and Technology Name Mr. Phongsthorn Thavisin Course NDC Class 7 Over the past few decades, Thailand's economy has steadily grown, and so too has its ever-increasing demand for energy. In order to ensure that we set and achieve a goal for the strengthening of our country’s economic and energy security, we must ensure that we can continue to economically supply constant and sustainable energy for our future needs. This study addresses the development of Thailand’s petroleum resources with two main focussed issues, notably; 1) Guidance on a new bidding round of petroleum concessions and 2) Preparation for the petroleum concessions that are due to expire in 2022. Further development and maximization of our country’s natural gas and crude oil resources will benefit all sectors of our communities. However, without support of the private sector and the general public, such action by the government alone is unlikely to be successful. There also appears to be a number of misunderstandings and misinterpretations of the regulations and procedures that govern oil and gas industry. Therefore, more focus should be given to provide improved awareness and understanding of the various issues surrounding the petroleum exploration and production industry here in Thailand, thereby building stakeholder confidence in all sectors. This, in turn, will contribute to more effective exploration and production activities in the country, including revenue collection, environmental issues and the health and safety of communities, whilst being under the umbrella of International standards and in accordance with regulations as prescribed by national petroleum law. With regard to the new bidding round of petroleum concessions, this study reveals that the most appropriate approach would be to keep the current Thailand III system intact. But, in some cases, adjustments of a formula to calculate benefits should be considered, to create a balance between the government benefits and the returns of a private company. All these should be considered and could well be implemented within 6-10 months. With regard to the petroleum concessions that will expire in 2022, the concerned regulatory bodies should attempt to have all related issues resolved at least 5 years before the end of the expiration date in order to reduce potential negative impacts on production costs of natural gas, electricity, and all related downstream industries. The pre-emptive action will entail the regulatory bodies performing a detailed study to calculate the true value of a concession which is due to expire. This, in turn, will determine the suitable threshold of proportional share for state participation and also determine the mechanism for any ensuing bidding whilst ensuring that the rules are transparent and fair to all sector stakeholders. In terms of benefit-sharing systems, it is likely preferable to keep the Thailand III system intact, but consideration should be given to a suitable formula, which reflects the true potential of the remaining petroleum in the expiring concessions.